การวิเคราะห์การปลูกฝังการแสดงออกความรักและรูปแบบความรักผ่านละครโทรทัศน์เกาหลี
Files
Publisher
Issued Date
2016
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
259 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b195713
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ศุจิกานท์ ทองอ่อน (2016). การวิเคราะห์การปลูกฝังการแสดงออกความรักและรูปแบบความรักผ่านละครโทรทัศน์เกาหลี. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5297.
Title
การวิเคราะห์การปลูกฝังการแสดงออกความรักและรูปแบบความรักผ่านละครโทรทัศน์เกาหลี
Alternative Title(s)
A cultivation analysis of love expression and type of love in Korean TV dramas
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการปลูกฝังการสื่อสารรูปแบบความรักและ การแสดงออกทางความรักในตัวละครของละครโทรทัศน์เกาหลี (2) ศึกษาการแสดงออกทางความ รักของตัวละครหลักในแก่นเรื่องที่ปรากฏในละครโทรทัศน์เกาหลี (3) เปรียบเทียบการแสดงออก ทางความรักของตัวละครชายหลักและตัวละครหญิงหลักในละครโทรทัศน์เกาหลี และ (4) ศึกษา ทัศนะของผู้ชมที่มีต่อรูปแบบความรักและการแสดงออกของตัวละครหลักในละครโทรทัศน์เกาหลี โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมผสานได้แก่ การวิเคราะห์เนื้อหาเชิงคุณภาพจากละครโทรทัศน์ เกาหลีที่ได้รางวัลยอดเยี่ยม Korea Drama Award ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 ถึง 2558 ทั้งหมด 7 เรื่อง และ การสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้รับชมละครโทรทัศน์เกาหลีและนักวิชาการด้านการสื่อสาร ผลการวิเคราะห์เนื้อหาพบว่าละครโทรทัศน์เกาหลีมีการนำเสนอรูปแบบความรักทั้งหมด 4 รูปแบบ ได้แก่ ความรักรูปแบบเสน่หา ความรักรูปแบบเสียสละ ความรักรูปแบบมีเหตุมีผล และ ความรักรูปแบบมิตรภาพตามลำดับ โดยการแสดงออกความรักจะเป็นการแสดงออกในมุมสวยงาม เช่น การปกป้องดูแล การเสียสละ และการเปิดเผย แก่นเรื่องที่พบในการวิเคราะห์เนื้อหามี 3 แก่นเรื่อง ได้แก่ ความรัก การมีชีวิตที่ไม่สมบูรณ์แบบ และการประกอบอาชีพ ทั้งนี้แก่นเรื่องจะเป็น ตัวกาหนดทิศทางของการดำเนินเรื่อง รูปแบบความรักและการแสดงออกของตัวละคร นอกจากนี้พบว่าฝ่ายชายจะมีการแสดงออกทางความรักมากกว่าฝ่ายหญิง และมักจะเป็นฝ่ายที่เริ่มต้น ความสัมพันธ์อีกด้วย ผลการสัมภาษณ์เชิงลึกพบว่า ผู้ชมได้รับการปลูกฝังว่าละครโทรทัศน์เกาหลีนั้นมี การแสดงออกความรักในรูปแบบเสียสละ และมักใช้การแสดงออกจากในละครมาปรับใช้ในชีวิต จริง
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559