ความสัมพันธ์ของการให้บริการสาธารณะกับงบประมาณจังหวัด
Files
Publisher
Issued Date
2016
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
87 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b194306
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
สุพิชชา สุขพวง (2016). ความสัมพันธ์ของการให้บริการสาธารณะกับงบประมาณจังหวัด. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5329.
Title
ความสัมพันธ์ของการให้บริการสาธารณะกับงบประมาณจังหวัด
Alternative Title(s)
The relationship between public services and provincial budget
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการให้บริการสาธารณะในระดับจังหวัดทั้งราชการส่วนกลางและส่วนท้องถิ่น โดยใช้ตัวแปร 12 ตัวซึ่งได้มาจากข้อมูลทางราชการ นํามา สังเคราะห์เป็นดัชนีโดยวิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบหลัก (Principle Component Analysis: PCA) และ 2) นําดัชนีบริการสาธารณะมาวิเคราะห์เปรียบเทียบงบประมาณจังหวัดต่อประชากร เพื่อ สังเกตการเปลี่ยนแปลงต่อความเหลือมล้ำ โดยกาหนดให้จังหวัดเป็นหน่วยวิเคราะห์ ช่วงเวลาที่ ศึกษา 2552-2556 ผลการศึกษา จากการวิเคราะห์ความเหลื่อมล้ำของบริการสาธารณะ วัดโดยสัมประสิทธิจีนี จากดัชนีบริการสาธารณะ คือ 0.4049, 0.4729 และ 0.4098 ในปี 2552, 2554 และ 2556 ตามลําดับ นันคือ ความเหลื่อมล้ำของบริการสาธารณะระดับจังหวัดเพิ่มขึ้นระหวางปี 2552-2554 หลังจากนั้น ลดลงมาเพียงเล็กน้อย ซึ่งให้ภาพรวมวาความเหลื่มล้ำของบริการสาธารณะไม่เปลี ยนแปลง กลุ่มจังหวัดที่มีดัชนีบริการสาธารณะในระดับสูงยังเป็นกลุ่มจังหวัดเดิม คือ จังหวัดที่รวยหรือรายได้ต่อ หัวในอัตราที่ สูง ได้แก่ จังหวัดนนทบุรี ภูเก็ต ปทุมธานี สมุทรปราการ สมุทรสาคร เป็นต้น ในขณะ ที่กลุ่มจังหวัดที มีดัชนีบริการสาธารณะในระดับต่ำเป็นกลุ่มจังหวัดที่จนหรือรายได้ต่อหัวต่ำ เช่น แม่ฮ่องสอน ศรีสะเกษ กาฬสินธุ์ ยโสธร ร้อยเอ็ด เป็นต้น ความสัมพันธ์ของบริการสาธารณะและ งบประมาณจังหวัด จากการประมาณการสมการถดถอยด้วยวิธี Random Effect พบว่าปัจจัยด้านนโยบาย ซึ่ได้แก่ การจัดสรรงบประมาณ ไม่ได้มีส่วนช่วยในการสนับสนุนให้ประชาชนได้รับการอํานวยความสะดวกและมีคุณภาพชีวิตที ดีขึ้นซึ่งสะท้อนถึงการได้รับบริการสาธารณะในระดับ จังหวัด แต่กลับเป็นผลมาจากปัจจัยด้านเศรษฐกิจหรือรายได้ต่อหัวประชากร
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559