• English
    • ไทย
  • ไทย 
    • English
    • ไทย
  • เข้าสู่ระบบ
ดูรายการข้อมูล 
  •   หน้าแรกของ คลังปัญญา
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร
  • GSSDE: Theses
  • ดูรายการข้อมูล
  •   หน้าแรกของ คลังปัญญา
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร
  • GSSDE: Theses
  • ดูรายการข้อมูล
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เรียกดูข้อมูล

ข้อมูลทั้งหมดของ คลังปัญญาชุมชน & กลุ่มข้อมูลวันที่เผยแพร่ผู้แต่งชื่อเรื่องหัวเรื่องวันที่เพิ่มข้อมูลประเภททรัพยากรกลุ่มข้อมูลนี้วันที่เผยแพร่ผู้แต่งชื่อเรื่องหัวเรื่องวันที่เพิ่มข้อมูลประเภททรัพยากร

บัญชีของฉัน

เข้าสู่ระบบ

ภูมิปัญญาข้าวกับความมั่นคงทางอาหารในประเทศไทย

by จิรัญภรณ์ เกตสมิง

ชื่อเรื่อง:

ภูมิปัญญาข้าวกับความมั่นคงทางอาหารในประเทศไทย

ชื่อเรื่องอื่นๆ:

Rice wisdom and food security in Thailand

ผู้แต่ง:

จิรัญภรณ์ เกตสมิง

ผู้ควบคุมงานวิจัย:

หลี่ เหรินเหลียง

ชื่อปริญญา:

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

ระดับปริญญา:

Master's

สาขาวิชา:

การบริหารการพัฒนาสังคม

คณะ/หน่วยงาน:

คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม

หน่วยงานที่ประสาทปริญญา:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

วันที่เผยแพร่:

2559

ตัวระบุวัตถุจิจิทัล (ดีโอไอ):

10.14457/NIDA.the.2016.146

หน่วยงานที่เผยแพร่:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

บทคัดย่อ/เนื้อเรื่องย่อ:

การศึกษานี้เพื่อ 1) ศึกษาภูมิปัญญาในการทํานาของชุมชนบ้านข้าวงาม อําเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และรวบรวมเป็นองค์ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาข้าว 2) ศึกษาผลของภูมิปัญญาข้าวในท้องถิ่นต่อความมั่นคงทางอาหารของชุมชนบ้านข้าวงาม อําเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และ 3) ศึกษาปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ จากการใช้ภูมิปัญญาข้าวใน ท้องถิ่ นต่อความมันคงทางอาหาร โดยใช้วิธีสัมภาษณ์แบบเจาะลึกเจาะจงกลุ่มผู้ให้ข้อมูลที่สําคัญ 15 คน เป็นผู้นําชุมชน สมาชิกในชุมชนที่ประกอบอาชีพและ/หรือมีความรู้ความเชี่ยวชาญในการทํานา ผลการศึกษาพบว่า 1) ชุมชนปลูกข้าวเจ้าเป็นหลัก เพราะลักษณะพื้นที่เป็นดินเหนียว ทํานาปี ละ 2รอบ คือ เดือนพฤศจิกายน -กุมภาพันธ์ และเดือนเมษายน -กรกฎาคม มีพิธีกรรมที่สําคัญมากสุด คือ รับขวัญ แม่โพสพ กระบวนการเรียนรู้เกิดจากการสังเกตจากคนรุ่นก่อนและผู้มี ประสบการณ์ ใช้วิธีให้ร่วมลงมือปฏิบัติไปด้วยกันเป็นการถ่ายทอดภูมิปัญญา 2) ความมั่นคงทางอาหารในทัศนะของชุมชน คือ ผลผลิตข้าวมีคุณภาพ การดํารงอยู่ของอาชีพ และผลผลิตมีปริมาณ สูง 3) ปัญหา อุปสรรคที่พบบ่อย คือ โรค สัตว์รบกวน ภัยแล้ง นํ้าท่วม ราคาตกตํ่า และขาดความรู้ ข้อเสนอสําคัญคือ ควรมีการถ่ายทอดความรู้ เทคนิควิธีการ และเทคโนโลยีใหม่แก่ชาวนาเสมอ อาจเป็นการจัดตั้ งศูนย์การเรียนรู้ชุมชน รวมทั้งกระตุ้นให้คนรุ่นหลังเห็นความสําคัญของอาชีพทํานา นอกจากนี้ต้องกำหนดนโยบายที่เกี่ยวกับราคาข้าวให้เหมาะสม กระนั้นชาวนาควรหาอาชีพ เสริมเพื่อรองรับปัญหารายได้ที่ไม่แน่นอน และควรพัฒนาข้าวเป็นผลิตภัณฑที่มีมูลค่าทางการตลาด สูงขึ้น

รายละเอียดเพิ่มเติม:

วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การบริหารการพัฒนาสังคม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559

หัวเรื่องมาตรฐาน:

ข้าว -- ไทย
ภูมิปัญญาชาวบ้าน
ความมั่นคงทางอาหาร

คำสำคัญ:

ภูมิปัญญาข้าว

ประเภททรัพยากร:

วิทยานิพนธ์

ความยาว:

131 แผ่น

ชนิดของสื่อ:

Text

รูปแบบแฟ้มข้อมูล:

application/pdf

ภาษา:

tha

สิทธิในการใช้งาน:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5339
แสดงระเบียนรายการแบบเต็ม

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้ (CONTENT)

Thumbnail
ดู
  • b194292.pdf ( 2,011.64 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSSDE: Theses [555]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×