dc.contributor.advisor | หลี่ เหรินเหลียง | th |
dc.contributor.author | จิรัญภรณ์ เกตสมิง | th |
dc.date.accessioned | 2021-12-13T06:37:06Z | |
dc.date.available | 2021-12-13T06:37:06Z | |
dc.date.issued | 2016 | th |
dc.identifier.other | b194292 | th |
dc.identifier.uri | https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5339 | th |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การบริหารการพัฒนาสังคม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559 | th |
dc.description.abstract | การศึกษานี้เพื่อ 1) ศึกษาภูมิปัญญาในการทํานาของชุมชนบ้านข้าวงาม อําเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และรวบรวมเป็นองค์ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาข้าว 2) ศึกษาผลของภูมิปัญญาข้าวในท้องถิ่นต่อความมั่นคงทางอาหารของชุมชนบ้านข้าวงาม อําเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และ 3) ศึกษาปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ จากการใช้ภูมิปัญญาข้าวใน ท้องถิ่ นต่อความมันคงทางอาหาร โดยใช้วิธีสัมภาษณ์แบบเจาะลึกเจาะจงกลุ่มผู้ให้ข้อมูลที่สําคัญ 15 คน เป็นผู้นําชุมชน สมาชิกในชุมชนที่ประกอบอาชีพและ/หรือมีความรู้ความเชี่ยวชาญในการทํานา ผลการศึกษาพบว่า 1) ชุมชนปลูกข้าวเจ้าเป็นหลัก เพราะลักษณะพื้นที่เป็นดินเหนียว ทํานาปี ละ 2รอบ คือ เดือนพฤศจิกายน -กุมภาพันธ์ และเดือนเมษายน -กรกฎาคม มีพิธีกรรมที่สําคัญมากสุด คือ รับขวัญ แม่โพสพ กระบวนการเรียนรู้เกิดจากการสังเกตจากคนรุ่นก่อนและผู้มี ประสบการณ์ ใช้วิธีให้ร่วมลงมือปฏิบัติไปด้วยกันเป็นการถ่ายทอดภูมิปัญญา 2) ความมั่นคงทางอาหารในทัศนะของชุมชน คือ ผลผลิตข้าวมีคุณภาพ การดํารงอยู่ของอาชีพ และผลผลิตมีปริมาณ สูง 3) ปัญหา อุปสรรคที่พบบ่อย คือ โรค สัตว์รบกวน ภัยแล้ง นํ้าท่วม ราคาตกตํ่า และขาดความรู้ ข้อเสนอสําคัญคือ ควรมีการถ่ายทอดความรู้ เทคนิควิธีการ และเทคโนโลยีใหม่แก่ชาวนาเสมอ อาจเป็นการจัดตั้ งศูนย์การเรียนรู้ชุมชน รวมทั้งกระตุ้นให้คนรุ่นหลังเห็นความสําคัญของอาชีพทํานา นอกจากนี้ต้องกำหนดนโยบายที่เกี่ยวกับราคาข้าวให้เหมาะสม กระนั้นชาวนาควรหาอาชีพ เสริมเพื่อรองรับปัญหารายได้ที่ไม่แน่นอน และควรพัฒนาข้าวเป็นผลิตภัณฑที่มีมูลค่าทางการตลาด สูงขึ้น | th |
dc.description.provenance | Submitted by Budsakorn Kaewpitakkan (toomool@gmail.com) on 2021-12-13T06:37:06Z
No. of bitstreams: 1
b194292.pdf: 2059922 bytes, checksum: 978f603e3195503c5dd334d0bca6b488 (MD5) | th |
dc.description.provenance | Made available in DSpace on 2021-12-13T06:37:06Z (GMT). No. of bitstreams: 1
b194292.pdf: 2059922 bytes, checksum: 978f603e3195503c5dd334d0bca6b488 (MD5)
Previous issue date: 2016 | th |
dc.format.extent | 131 แผ่น | th |
dc.format.mimetype | application/pdf | th |
dc.language.iso | tha | th |
dc.publisher | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ | th |
dc.rights | ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0) | th |
dc.subject | ภูมิปัญญาข้าว | th |
dc.subject.other | ข้าว -- ไทย | th |
dc.subject.other | ภูมิปัญญาชาวบ้าน | th |
dc.subject.other | ความมั่นคงทางอาหาร | th |
dc.title | ภูมิปัญญาข้าวกับความมั่นคงทางอาหารในประเทศไทย | th |
dc.title.alternative | Rice wisdom and food security in Thailand | th |
dc.type | Text | th |
mods.genre | วิทยานิพนธ์ | th |
mods.physicalLocation | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา | th |
thesis.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | th |
thesis.degree.level | Master's | th |
thesis.degree.discipline | การบริหารการพัฒนาสังคม | th |
thesis.degree.grantor | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ | th |
thesis.degree.department | คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม | th |
dc.identifier.doi | 10.14457/NIDA.the.2016.146 | |