การประเมินผลการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Files
Publisher
Issued Date
2016
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
143 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b194276
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ปัญญาทร หวังชูธรรม (2016). การประเมินผลการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5340.
Title
การประเมินผลการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Alternative Title(s)
Evaluation of the corporate social responsibility performance at the National Institute of Development Administration: NIDA
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ เป็นสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มีการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างยาวนานและมีประสิทธิภาพ จึงเป็นที่น่าสนใจว่า สถาบันฯ มีแนวทางในการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการดำเนินงาน ประเมินผลการดำเนินงาน รวมถึงปัญหา และอุปสรรคที่มีผลต่อการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของสถาบันฯ และเสนอแนะ แนวทางพัฒนาการดำเนินงานดังกล่าวงานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้หลักการประเมินผลเชิง ดุลยภาพ (Balanced Scorecard) ในการศึกษา เก็บรวมรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ ข้อมูลหลัก ร่วมกับการสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม ผลการศึกษาพบว่า มิติด้านการเงิน สถาบันฯ มี การจัดสรรงบประมาณได้ตรงตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายเป็นอย่างดี มิติด้านกระบวนการ ภายใน พบว่าสถาบันฯ กำหนดยุทธศาสตร์เรื่องความรับผิดชอบต่อสังคมเป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์ หลักของสถาบันฯ มีการกำหนดผู้บริหาร หน่วยงานรับผิดชอบที่รับผิดชอบดูแลอย่างชัดเจนทำให้ การดำเนินงานเป็นไปอย่างราบรื่น มิติด้านลูกค้า พบว่าผู้มีส่วนได้ส่วนเสียส่วนใหญ่มีความพึง พอใจต่อการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม มิติด้านการเรียนรู้และพัฒนา พบว่าบุคลากร ผู้เข้าร่วมโครงการล้วนเป็นผู้ที่มีความตระหนักและจิตสำนึกที่ดี หรือเคยผ่านงานด้านความ รับผิดชอบต่อสังคมมาก่อน ส่งผลให้ไม่จำเป็นต้องมีพัฒนาการเรียนรู้ของบุคลากรมากนัก ส่วนข้อเสนอแนะในการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของสถาบัน ฯ พบว่าควรเพิ่มจำนวน ผู้รับผิดชอบการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมให้มากขึ้น และริเริ่มโครงการด้านความ รับผิดชอบต่อสังคมตามองคค์วามรู้หลักของแต่ละคณะและหน่วยงานให้มากขึ้น
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการสิ่งแวดล้อม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559