การประเมินผลการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการสะพานข้ามอ่างเก็บน้ำลำปาว จังหวัดกาฬสินธุ์
Files
Publisher
Issued Date
2016
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
220 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b194274
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
รุจิกานต์ เสนาคง (2016). การประเมินผลการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการสะพานข้ามอ่างเก็บน้ำลำปาว จังหวัดกาฬสินธุ์. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5342.
Title
การประเมินผลการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการสะพานข้ามอ่างเก็บน้ำลำปาว จังหวัดกาฬสินธุ์
Alternative Title(s)
Evaluation of an environmental impact assessment of the Bridge Across the Lampao Reservoir Project, Kalasin Province
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการพัฒนาประเทศเป็นสิ่งจําเป็นต่อการยกระดับ คุณภาพชวีตประชาชน อย่างไรก็ตามการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานต่าง ๆ จําเป็นต้องพิจารณา ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมที่อาจจะเกิดขึ้น งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลระบบ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย ปัญหาและอุปสรรค รวมถึงเสนอแนวทาง การปรับปรุงระบบการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม กรณีศึกษาโครงการสะพานข้ามอ่างเก็บน้ำลําปาว จังหวัดกาฬสินธุ์โดยใช้ระเบียบวิธีวีจิยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก ผลการศึกษา พบว่า การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการ มีการดำเนินการกับผู้มีส่วนได้เสียกับโครงการในพื้นที่ตามกฎหมาย เปิดโอกาสให้ประชาชนร่วมแสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับโครงการเพื่อให้การพิจารณาผลประโยชน์และผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นจากโครงการพัฒนาเป็นไปอย่างถูกต้องและเหมาะสมที่ สุด โดยกระบวนการครอบคลุมผู้มีส่วนได้เสีย และมีการเผยแพร่ข้อมูลให้กับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการประเมินผลกระทบ สิ่งแวดล้อม ส่วนแนวทางการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมให้ประสบความสำเร็จนั้น หน่วยงาน ภาครัฐและเอกชนต้องสร้างความเชื่อมั่น โดยเปิดเผยข้อมูลการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ที่มีความถูกต้อง กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนต้องเปิดโอกาสให้ประชาชนรับรู้ข้อมูล โครงการ และรับฟังความคิดเห็นของประชาชนอย่างแท้จริง ส่วนภาคประชาชนต้องศึกษา หาความรู้เพิ่มเติมในด้านการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ให้ความสําคัญในการรับฟังข้อมูล จากหน่วยงานเจ้าของโครงการด้วยความเป็นธรรม และเปิดใจยอมรับข้อมูลต่าง ๆ
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการสิ่งแวดล้อม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559