การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนแม่บทการจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย จังหวัดปทุมธานี
Files
Publisher
Issued Date
2016
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
217 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b194273
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ปัณณพัฒน์ ฤทธิ์เรืองเดช (2016). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนแม่บทการจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย จังหวัดปทุมธานี. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5343.
Title
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนแม่บทการจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย จังหวัดปทุมธานี
Alternative Title(s)
Public participation in formulation of waste and hazardous waste management master plan, Pathumthani Province
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัญหาในการจัดการขยะของจังหวัดปทุมธานี รวมถึงปัญหาการมีส่วนร่วมของประชาชน 2) ศึกษากระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ จัดทําแผนแม่บทการจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย จังหวัดปทุมธานี 3) ศึกษาปัจจัยที่มีผล ต่อการมีส่วนร่วมของประชาชน 4) เสนอแนวทางในการส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของ ประชาชนในการจัดทําแผนแม่บทการจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย จังหวัดปทุมธานีเก็บ รวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลหลัก ผลการวิจัยพบว่า ปัญหาด้านการจัดการขยะใน จังหวัดปทุมธานีอยู่ในระดับสูง เนื่องจากจังหวัดปทุมธานีมีนิคมอุตสาหกรรม ตลาดค้าส่งขนาด ใหญ่ และมีประชากรแฝงอยู่ในจังหวัดนี้ปริมาณมาก ปัญหาการมีส่วนร่วมของประชาชนคือ ประชาชนไม่ได้มีโอกาสมีส่วนร่วมในโครงการต่างๆ เท่าที่ควร เช่นการก่อสร้างโรงไฟฟ้าขยะ ซึ่ ง ประชาชนมีการคัดค้านอย่างรุนแรงแต่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องยืนยันที่จะดําเนินการต่อ ส่วนการมี ส่วนร่วมในการจัดทําแผนแม่บทฯนั้นพบว่าประชาชนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นต่อ ปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาแต่ยังมีส่วนในการตัดสินใจน้อย ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วม คือความรู้ความเข้าใจของประชาชน การตอบสนองของผู้นําชุมชน การให้ความร่วมมือของ ประชาชน ตลอดจนนโยบายของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และการดําเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการสิ่งแวดล้อม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559