Show simple item record

dc.contributor.advisorภัคพงศ์ พจนารถth
dc.contributor.authorอรพรรณ แพกุลth
dc.date.accessioned2021-12-16T10:33:12Z
dc.date.available2021-12-16T10:33:12Z
dc.date.issued2016th
dc.identifier.otherb194272th
dc.identifier.urihttps://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5347th
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการสิ่งแวดล้อม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559th
dc.description.abstractการศึกษาสาเหตุการเปลี่ยนแปลงของโอโซนในทวีปเอเชีย โดยใช้ข้อมูลของโอโซนจาก สถานีตรวจวัด 15 แห่งในทวปีเอเชีย ปีค.ศ. 2004 โดยเปรียบเทียบกับการเคลื่อนตัวของมวลอากาศ แบบย้อนกลับเป็นระยะเวลา 10 วัน ด้วยแบบจำลอง HYSPLIT และจำแนกทิศทางการเคลื่อนตัว มวลอากาศเป็น 8 ทิศทางพบว่า มวลอากาศส่วนใหญ่มาจากทิศตะวันตก (W) รองลงมาคือ ทิศ ตะวันตกเฉียงเหนือ (NW) โดยโอโซนในภูมิภาคเอเชียตะวัน ออกมีค่าความเข้มข้นสูงเมื่อมวล อากาศเคลื่อนตัวมาจากทิศ W และผ่านแหล่งกำเนิดมลพิษภายในทวีป เช่น สถานีMt.Tai มีค่าเฉลี่ย รายปีโอโซนเท่ากบั 57.3 ppb รองลงมา สถานี Happo (55.9 ppb) สถานี Mt.Huang (51.8 ppb) สถานี Mt.Hua (50.3 ppb) สถานี Oki (44.8 ppb) สถานีMondy (44.6 ppb) สถานี HokTsui (43.7 ppb) สถานี Mt. Abu (43.1ppb) สถานี Rishiri (42.9 ppb)และสถานี Issyk-kul (38.9 ppb) ตามลำดับ บริเวณชายฝั่งตะวันออกของทวีปมวลอากาศที่ผ่านมหาสมุทรยาวนานกว่าทำให้มีโอโซนต่ำกว่า บริเวณอื่น เช่น สถานีMinami Torishima ซึ่งมีค่าเฉลี่ยรายปีเท่ากับ 30.7 ppb ในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้พบค่าเฉลี่ยของโอโซนที่สถานี Tanah Rata และ Bukit Koto Tabang เท่ากับ 19.0 และ13.0 ppb ตามลำดับ สถานีทั้งสองแห่งได้รับอิทธิพลจากมวลอากาศผ่านมหาสมุทรตลอดทั้งปี ทำให้ค่าเฉลี่ยต่ำกว่าสถานีที่ตั้งอยู่ทางภูมิภาคอื่นของทวีปเอเชีย โดยสถานีที่ได้รับมวลอากาศจาก ภายในภาคพื้นทวีปจะมีความเข้มข้นของโอโซนสูงกว่า มวลอากาศที่ผ่านมหาสมุทรจากการศึกษานี้ พบว่าปัญหามลพิษทางอากาศนอกจากแหล่งกำเนิดมลพิษที่เกิดในท้องถิ่นแล้วยังต้องตระหนักถึง ปัญหามลพิษที่สามารถแพร่กระจายจากระยะไกลซึ่งการศึกษาคร้ังนี้สามารถใช้เป็นแนวทางในการ คาดการณ์การเปลี่ยนแปลงของโอโซนในพื้นที่เฝ้าระวังได้th
dc.description.provenanceSubmitted by Budsakorn Kaewpitakkan (toomool@gmail.com) on 2021-12-16T10:33:12Z No. of bitstreams: 1 b194272.pdf: 6169950 bytes, checksum: b39917e225dd13d03e5d4661afe2208b (MD5)th
dc.description.provenanceMade available in DSpace on 2021-12-16T10:33:12Z (GMT). No. of bitstreams: 1 b194272.pdf: 6169950 bytes, checksum: b39917e225dd13d03e5d4661afe2208b (MD5) Previous issue date: 2016th
dc.format.extent110 แผ่นth
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)th
dc.subject.otherมลพิษทางอากาศth
dc.subject.otherคุณภาพอากาศth
dc.titleคุณลักษณะและปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของโทรโพสเฟียริกโอโซนในทวีปเอเชียth
dc.title.alternativeCharacteristic and factors influence of Tropospheric Ozone in Asiath
dc.typeTextth
mods.genreวิทยานิพนธ์th
mods.physicalLocationสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนาth
thesis.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth
thesis.degree.levelMaster'sth
thesis.degree.disciplineการจัดการสิ่งแวดล้อมth
thesis.degree.grantorสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
thesis.degree.departmentคณะบริหารการพัฒนาสิ่งแวดล้อมth
dc.identifier.doi10.14457/NIDA.the.2016.69


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record