การประยุกต์ของทฤษฎีเศษเหลือของจีนและโครงสร้างต้นไม้ในการสื่อสารแบบกลุ่มด้วยการเข้ารหัสลับตามเทคนิควิธี NTRU
Publisher
Issued Date
2012
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
54 แผ่น ; 30 ซม.
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
แวววรรณ จันทร์ชูกลิ่น (2012). การประยุกต์ของทฤษฎีเศษเหลือของจีนและโครงสร้างต้นไม้ในการสื่อสารแบบกลุ่มด้วยการเข้ารหัสลับตามเทคนิควิธี NTRU. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/535.
Title
การประยุกต์ของทฤษฎีเศษเหลือของจีนและโครงสร้างต้นไม้ในการสื่อสารแบบกลุ่มด้วยการเข้ารหัสลับตามเทคนิควิธี NTRU
Alternative Title(s)
An application of chinese remainder theorem and tree on NTRU based group-oriented encryption
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การเข้ารหัสลับแบบกลุ่ม ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในการส่งข้อมูลเพียงคร้ังเดียว ให้กับผู้รับปลายทางพร้อมกัน รูปแบบที่ อาศัยเทคนิควิธีการเข้ารหัสกุญแจกลุ่มแบบกุญแจสมมาตร (Symmetric Key Encryption) จําเป็นต้องอาศัยช่องทางที่ปลอดภัยเพื่อส่งกุญแจส่วนตัวระหว่างกัน จึงมีการวิจัยที่ส่งข้อมูลแบบกลุ่ม โดยเทคนิควิธีการเข้ารหัสแบบกุญแจอสมมาตร (Asymmetric Key Encryption) เพื่อแกปัญหาการส่งกญแจกลุ่มและยังทำใหํ สามารถให้บุคคลภายนอกกลุ่มสามารถส่ง ข้อมูล ซึ่งเป็นความลับให้แก่สมาชิกในกลุ่มได้ ซึ่งงานวิจัยชิ้นนี้ได้จําลองการทำงานของแม่ข่ายกุญแจ (Key Server)โดยเริ่มจากกำหนดกุญแจสําหรับเข้ารหัสลับกลุ่มค่าหนึ่งนำมาเข้ารหัสลับด้วยกุญแจสาธารณะของแต่ละสมาชิกใน กลุ่มด้วยเทคนิควิธี NTRU ซึ่งเป็นวิธีการเข้ารหัสลับแบบกุญแจอสมมาตรที่มีความเร็วในการ ประมวลผลสูง แล้วนำมาหาค่าผลเฉลี่ยด้วยทฤษฎี เศษเหลือของจีน เพื่อลดจำนวนข้อความที่ต้อง แพร่ออกไปในเครือข่ายให้กับสมาชิกให้เหลือเพียงข้อความเดียว อย่างไรก็ตามในกระบวนการ คํานวณหาค่าผลเฉลี่ยนั้นจะต้องมีการคำนวณค่าผกผัน (Inverse) ของสมาชิกทั้งหมดซึ่งทำให้ต้อง เสียเวลามากในกรณีที่สมาชิกในกลุ่มมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ จึงประยุกต์ ใช้โครงสร้างต้นไม้มาช่วยจัดการค่าผกผันของสมาชิกเพื่อช่วยลดเวลาในการคำนวณ เมื่อต้องกำหนดกุญแจหรือเปลี่ยน กุญแจกลุ่มค่าใหม่ โดยประสิทธิภาพของแนวคิดการนําโครงสร้างต้นไม้มาประยุกต์นั้น เมื่อวิเคราะห์กระบวนการทำงานและทดสอบด้วยการจำลองการทำงานของแม่ข่ายกุญแจ พบว่า ประสิทธิภาพที่ได้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน คือ สามารถลดเวลาที่ต้องสูญเสียไปในการคำนวณหาค่าผกผันทุกคร้ังที่มีการเปลี่ยนแปลงสมาชิกในกลุ่มสื่อสารลงได้
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (สถิติประยุกต์และเทคโนโลยีสารสนเทศ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2012