• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะบริหารการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
  • GSEDA: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะบริหารการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
  • GSEDA: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

แนวทางการส่งเสริมการจัดการขยะที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ กรณีศึกษาเทศบาลนครนนทบุรี

by วิภาพรรณ เพียรแย้ม

Title:

แนวทางการส่งเสริมการจัดการขยะที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ กรณีศึกษาเทศบาลนครนนทบุรี

Other title(s):

Guidelines for management of recyclable waste: a case study of Nonthaburi Municipality

Author(s):

วิภาพรรณ เพียรแย้ม

Advisor:

วิสาขา ภู่จินดา

Degree name:

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

Master's

Degree discipline:

การจัดการสิ่งแวดล้อม

Degree department:

คณะบริหารการพัฒนาสิ่งแวดล้อม

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2016

Digital Object Identifier (DOI):

10.14457/NIDA.the.2016.56

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

การวิจันี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจยัที่มีความสัมพนัธ์กับการจัดการขยะที่สามารถนำกลับ มา ใช้ใหม่ได้(Recyclable Waste) ของเทศบาลนครนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี รวมถึงเสนอแนวทางการจัดการ ขยะที่สามารถนำกลับ มาใช้ใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณร่วมกับการ วิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งทำการศึกษาโดยใช้แบบสอบถามพฤติกรรมการจัดการขยะภายในครัวเรือนของกลุ่มตัวอย่างครัวเรือนที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลนนทบุรีจำนวน 306 ครัวเรือน ด้วยวิธีการสุ่มแบบมี ระบบ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมวิเคราะห์ทางสถิติสำเร็จรูปที่ระดับความเชื่อมั่น ร้อยละ 95 ร่วมกับการศึกษาบทบาทของเทศบาลนครนนทบุรีและสถานประกอบการรับซื้อขยะรีไซเคิลในเขต เทศบาลนครนนทบุรีที่มีต่อการจัดการขยะ โดยใช้แบบสัมภาษณ์ร่วมกับแบบสังเกตการณ์ใช้สถิติ เชิงพรรณนา ได้แก่จำนวน ร้อยละค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ t-test และ F-test ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 พบว่า กลุ่มครัวเรือนตัวอย่างเกินกว่ากึ่งหนึ่ง มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการขยะอยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.86)และมีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.98) ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะ ประเภทขวดพลาสติกกระดาษ ลังกระดาษ และขวดแก้ว คิดเป็นร้อยละ 70.3, 60.8, 60.5และ 60.1 ตามลำดับ ของการคัดแยกขยะทั้งหมด ซึ่งขยะดังกล่าวเป็นขยะที่สามารถจำหน่ายได้ง่าย มีรถรับซื้อ ถึงที่ ขณะที่ขยะประเภทอื่นๆที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ไดนั้น ไม่มีสถานที่รับซื้อครัวเรือนส่วนใหญ่จึงใช้วิธีการทิ้งรวมกับขยะอื่นๆ โดยไม่มีการคัดแยกเนื่องจากครัวเรือนไม่มีแรงจูงใจในการ คัดแยกและจากการสังเกตการณ์ พบว่า วิธีการจัดเก็บขยะของทางเทศบาลเป็นวิธีการเก็บขนแบบ รวม จึงไม่มีความจำเป็นในการคัดแยก ซึ่งปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการคัดแยกขยะที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ของครัวเรือนนั้นคือระดับการศึกษา รายได้และความรู้ความเข้าใจต่อการจัดการขยะที่สามารถนา กลับมาใช้ใหม่ได้ในส่วนของปัจจยัอื่นที่ส่งผลต่อการคัดแยกขยะที่สามารถนำกลับ มาใช้ใหม่ของครัวเรือน ได้แก่ผลตอบแทนที่ได้รับ ข้อจำกัดของพื้นที่ที่ใช้ในการจัดเก็บขยะ เพื่อรอการจำหน่ายและช่องทางการจำหน่ายที่สะดวก มีรถรับซื้อถึงที่ ดังนั้น แนวทางการส่งเสริม การจัดการขยะที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่จึงควรสร้างความร่วมมือ ระหว่าง 3 ภาคส่วน โดย เทศบาลฯควรมีการรณรงคให้ค้วามรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ถูกวิธีเปลี่ยนรูปแบบการจัดเก็บขยะ เพื่อให้ประชาชนเกิดความตระหนักในการคัดแยกรวมถึงเป็นศูนยก์ลางในการสร้างความร่วมมือ กับ ภาคเอกชน (สถานประกอบการรับซื้อขยะรีไซเคิล) ในการเพิ่มช่องทางและประเภทของขยะที่ รับซื้อเพื่อสร้างแรงจูงใจให้เกิดความร่วมมือในการจดัการขยะอย่างมีประสิทธิภาพ

Description:

วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการสิ่งแวดล้อม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559

Subject(s):

การจัดการขยะ -- นนทบุรี
ขยะ -- ไทย -- นนทบุรี -- การจัดการ
ขยะ -- การนำกลับมาใช้ใหม่

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

160 แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5354
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • b194265.pdf ( 2,160.92 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSEDA: Theses [91]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×