การศึกษาเรื่องพัฒนาการในการสื่อสารของเพลงลูกทุ่งผ่านการเล่าเรื่องตามค่านิยมของสังคมไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน
Files
Publisher
Issued Date
2016
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
273 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b194240
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ทัศน์วศิน ธูสรานนท์ (2016). การศึกษาเรื่องพัฒนาการในการสื่อสารของเพลงลูกทุ่งผ่านการเล่าเรื่องตามค่านิยมของสังคมไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5365.
Title
การศึกษาเรื่องพัฒนาการในการสื่อสารของเพลงลูกทุ่งผ่านการเล่าเรื่องตามค่านิยมของสังคมไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน
Alternative Title(s)
The study of Thai country song communication development through the story telling in Thai social values from the past to the present
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
งานวิจัยเรื่อง “การศึกษา เรื่อง พัฒนาการในการสื่อสารของเพลงลูกทุ่งผานการเล่าเรื่องตาม ค่านิยมของสังคมไทย จากอดีตสู่ปัจจุบัน” มีวัตถุประสงคหลักเพื่อศึกษาพัฒนาการในการสื่อสาร ของเพลงลูกทุ่งผ่านการเล่า เรื่องตามค่านิยมของสังคมไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน วัตถุประสงค์ที่สอง เพื่อศึกษากระบวนการสร้างสรรคผลงานเพลงลูกทุ่งไทย และปัจจยที่เป็นตัวกำหนดการเล่าเรื่อง ของเพลงลูกทุ่งจากอดีตสู่ปัจจุบัน และวัตถุประสงค์ที่สามพื่อศึกษาประเด็นค่านิยมของสังคมไทย จากอดีตสู่ปัจจุบันที่ เสนอผ่านเพลงลูกทุ่งในบริบทช่วง พ.ศ. 2500-2558 ซึ่งข้อมูลค่านิยมทางสังคมมักเป็นผลส้ะทอนของวัฒนธรรมที่แตกต่างกันไปในแต่ละยุค สมัยซึ่งจะสอดคล้องกับความหมายและการเล่ารื่องของเพลงลูกทุ่งในช่วงเวลานั้น โดยผลงานเพลง ลูกทุ่งส่วนใหญ่จะนำเสนอข้อความที่มีนัยยะ ต้องอาศัยการตีความ และจำเป็นจะต้องใช้ข้อมูลใน เชิงคุณภาพมาประกอบในการวเคราะห์ ข้อมูลได้แก่คําสัมภาษณ์ของศิลปินและผู้เกี่ยวข้อง , เอกสาร หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ดังน้ันการศึกษาในคร้ังนี้ผู้วิจัยจึงใช้ระเบียบวิธีการวิจัยในเชิงคุณภาพเป็นหลัก คือการ สัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-Depth Interview) ผ่านกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ประพันธ์เพลง, ผู้บริหารค่าย เพลงและนักจัดรายการเพลงลูกทุ่งทางวิทยุโดยใช้การนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพในลักษณะของ การพรรณนาวิเคราะห์และใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณมาเป็นส่วนเสริม คือการวิเคราะห์ความหมาย เชิงตีความ (Interpretative Textual Analysis) ร่วมกับการวิเคราะห์เนื้อหาของเพลง (Content Analysis) โดยแบ่งผลงานเพลงและบริบทออกเป็นช่วงเวลา 4 ยุคสมัย เพื่อเชื่อมโยงประเด็น ความคิดและค่านิยมเข้ากับสถานการณ์ของสงคมไทยในยุคสมัยดังกล่าว
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559