ปัจจัยด้านการยอมรับและปฏิสัมพันธ์บนเครือข่ายสังคมออนไลน์กับพฤติกรรมการซื้อ
Files
Publisher
Issued Date
2016
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
102 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b194231
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ปัทมา แย้มไพเราะ (2016). ปัจจัยด้านการยอมรับและปฏิสัมพันธ์บนเครือข่ายสังคมออนไลน์กับพฤติกรรมการซื้อ. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5369.
Title
ปัจจัยด้านการยอมรับและปฏิสัมพันธ์บนเครือข่ายสังคมออนไลน์กับพฤติกรรมการซื้อ
Alternative Title(s)
Factors in acceptance and interaction through online social network with purchasing behaviors
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาการรับรู้ความง่ายในการใช้งาน การรับรู้ถึง ประโยชน์ที่ได้รับ การรับรู้ความสนุกสนาน ปฏิสัมพันธ์บนเครือข่ายสังคมออนไลน์และ พฤติกรรมการซื้อเครื่องสำอาง 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง การรับรู้ความง่ายในการใช้ งาน การรับรู้ถึงประโยชน์ที่ได้รับ การรับรู้ความสนุกสนานกับปฏิสัมพันธ์บนเครือข่ายสังคม ออนไลน์ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง การรับรู้ความง่ายในการใช้งาน การรับรู้ถึง ประโยชน์ที่ได้รับ การรับรู้ความสนุกสนานกับพฤติกรรมการซื้อเครื่องสำอาง และ 4) เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างปฏิสัมพันธ์บนเครือข่ายสังคมออนไลน์กับพฤติกรรมการซื้อเครื่องสำอาง โดยใช้การวิจัยเชิงสำรวจ เก็บข้อมูล จำนวน 400 คน ท าการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์สำเร็จรูป SPSS และท าการทดสอบสมมติฐานการวิจัยด้วยสถิติ Pearson Product Moment Correlation ผลการวิจัยพบว่า ประชาการในเขตกรุงเทพมหานครเคยใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ และใช้เครือข่าย line ในการซื้อเครื่องสำอาง โดยส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 23-35 ปี มี รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 20,001 บาทขึ้นไป มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีสถานภาพสมรส และมี อาชีพพนักงานภาครัฐ พนักงานรัฐวิสาหกิจ/ ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า (1) การรับรู้ถึงความง่ายในการใช้งาน การรับรู้ถึง ประโยชน์ที่ได้รับ และการรับรู้ความสนุกสนานในการ ซื้อเครื่องสำอางผ่านสื่อสังคมออนไลน์กับ การปฏิสัมพันธ์บนเครือข่ายสังคมออนไลน์ และพฤติกรรมการซื้อเครื่องสำอางออนไลน์ มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ 0.05 (2) การปฏิสัมพันธ์บนเครือข่ายสังคม ออนไลน์กับ พฤติกรรมการซื้อเครื่องสำอางออนไลน์มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ 0.05
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559