• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ
  • GSCM: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ
  • GSCM: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

เลิฟซิกเดอะซีรี่ส์ : การสร้างความผูกพันของกลุ่มแฟนผ่านเล่าเรื่องข้ามสื่อใบริบทชายรักชาย

by ศักย์ศรณ์ ศรีประสงค์

Title:

เลิฟซิกเดอะซีรี่ส์ : การสร้างความผูกพันของกลุ่มแฟนผ่านเล่าเรื่องข้ามสื่อใบริบทชายรักชาย

Other title(s):

Love Sick The Series : transmedia storytelling and community engagement in the context of men love men

Author(s):

ศักย์ศรณ์ ศรีประสงค์

Advisor:

กุลทิพย์ ศาสตระรุจิ

Degree name:

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

Master's

Degree discipline:

นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม

Degree department:

คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2015

Digital Object Identifier (DOI):

10.14457/NIDA.the.2015.41

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

การวิจัยนี้มีวตัถุประสงค์เพื่อ(1) ศึกษารูปแบบการเล่าเรื่องข้ามสื่อ(2) ศึกษาสัมพันธบท ของการเล่าเรื่องข้ามสื่อ และ (3) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างตัวบทในการเล่าเรื่องข้ามสื่อ เพื่อ สร้างความผูกพันของกลุ่มแฟนละครเลิฟซิกเดอะซีรี่ส์ในบริบทชายรักชาย โดยใช้วิธีวิจัยเชิง คุณภาพประกอบด้วย การวิจัยเอกสาร การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม และการสัมภาษณ์เชิงลึกจาก ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ โดยผลการวิจยัพบว่า (1) รูปแบบการเล่าเรื่องข้ามสื่อเพื่อสร้างความผูกพันของกลุ่มแฟนละครเลิฟซิกเดอะซีรี่ส์ ในบริบทชายรักชาย แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ ได้แก่การเล่าเรื่องด้วยภาพประกอบข้อความ ภาพเคลื่อนไหว และข้อความบรรยาย (2) สัมพันธบทของการเล่าเรื่องข้ามสื่อ ได้แก่โครงเรื่อง แก่นเรื่อง ความขัดแย้ง ลักษณะเด่นของตัวละครเอกและลักษณะฉากส่วนใหญ่ที่เกิดภายในเรื่อง มี การขยายความในการเพิ่มลักษณะนิสัยบางประการให้ตวัละครเอกมีลักษณะเด่นชัดขึ้น มีการลดทอนตัวละครที่ไม่เกี่ยวข้องกับบริบทรักสามเส้าแบบชายรักชายออกทั้งหมด และมีการดัดแปลง มุมมองการเล่าเรื่องโดยในการเล่าเรื่องข้ามสื่อบนสื่อสังคมมีการเล่าเรื่องแบบรอบด้าน (3) ปัจจัยที่มี ผลต่อการสร้างตัวบทในการเล่าเรื่องข้ามสื่อ ได้แก่ 1 ความต้องการมีส่วนร่วมในเรื่องเล่าด้วย มุมมองและความถนัดของผู้สร้างตัวบท 2 ความต้องการเป็นผู้มีอำนาจในการลิขิตสถานการณ์ชีวิต ตัวละครและนักแสดงที่ชื่นชอบ 3 ความต้องการในการมีตัวตนเป็นที่ยอมรับในชุมชนออนไลน์ 4 ความต้องการในการมีปฏิสัมพันธ์กับกลุ่มคนที่สนใจในเรื่องเดียวกันแต่พบเจอได้ยากในชีวิตจริง

Description:

วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558

Subject(s):

การเล่าเรื่อง

Keyword(s):

การเล่าเรื่องข้ามสื่อ|สัมพันธบท|การสร้างตัวบท

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

162 แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5414
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • b193278.pdf ( 2,592.25 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSCM: Theses [179]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×