ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร : การรับรู้คุณภาพการบริการภาพลักษณ์องค์กร ความไว้วางใจ และพฤติกรรมของผู้บริโภคเจนเนอเรชั่น ซี
Files
Publisher
Issued Date
2016
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
232 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b193276
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
วรมน บุญศาสตร์ (2016). ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร : การรับรู้คุณภาพการบริการภาพลักษณ์องค์กร ความไว้วางใจ และพฤติกรรมของผู้บริโภคเจนเนอเรชั่น ซี. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5419.
Title
ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร : การรับรู้คุณภาพการบริการภาพลักษณ์องค์กร ความไว้วางใจ และพฤติกรรมของผู้บริโภคเจนเนอเรชั่น ซี
Alternative Title(s)
Corporate social responsibility : perceived service quality, corporate image, trust and generation C consumer behavior
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับทัศนคติของผู้บริโภคเจนเนอเรชั่น ซี ต่อรูปแบบความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้คุณภาพ การบริการ ภาพลักษณ์องค์กร และความไว้วางใจกับพฤติกรรมความตั้งใจซื้อและการบอกต่อของ ผู้บริโภคเจนเนอเรชั่น ซี3) เพื่อศึกษาทัศนคติต่อรูปแบบความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรที่เป็น ปัจจัยพยากรณ์การรับรู้และพฤติกรรมของผู้บริโภคเจนเนอเรชั่น ซีกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริโภคเจน เนอเรชั่น ซี อายุ 18–44 ปี จ านวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามออนไลน์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป ผลการวิจัยเบื้องต้นพบว่า กลุ่มผู้บริโภคเจนเนอ เรชั่น ซี ในประเทศไทย มีทัศนคติต่อรูปแบบความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรในภาพรวมอยู่ใน ระดับมาก โดยการรับรู้คุณภาพการบริการ ภาพลักษณ์องค์กร และความไว้วางใจมีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมความตั้งใจซื้อและการบอกต่อ ทั้งนี้ รูปแบบความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรทั้ง 4 รูปแบบเป็นตัวแปรที่เป็นปัจจัยพยากรณ์ต่อการรับรู้และพฤติกรรมของผู้บริโภคเจนเนอเรชั่น ซี งานวิจัยให้ข้อเสนอแนะว่าผู้ประกอบการหรือองค์กรควรพิจารณาถึงความสำคัญของรูปแบบการ ดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมทั้ง 4 รูปแบบ เพื่อที่จะส่งผลต่อการรับรู้และพฤติกรรมของ ผู้บริโภคเจนเนอเรชั่น ซี และต่อการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้บริโภคเจนเนอเรชั่น ซีซึ่งจะเป็น ผลดีต่อองค์กรได้ในระยะยาว
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559