ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้ออาหารออร์แกนิคออนไลน์ของผู้บริโภค
Files
Publisher
Issued Date
2015
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
108 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b193275
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ชัญญา ชีนิมิตร (2015). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้ออาหารออร์แกนิคออนไลน์ของผู้บริโภค. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5420.
Title
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้ออาหารออร์แกนิคออนไลน์ของผู้บริโภค
Alternative Title(s)
The factors of the consumer's decisions to buy the online organic foods
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อ 1) เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการดำเนินชีวิตกบัการเปิดรับสื่อเกี่ยวกบัอาหารออร์แกนิค 2) เพื่อ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการดำเนินชีวิตกับพฤติกรรมการซื้ออาหารออร์แกนิค3) เพื่อ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับสื่อกับพฤติกรรมการซื้ออาหารออร์แกนิค 4) เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการดำเนินชีวิตกับปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อ 5) เพื่อศึกษา ความสัมพันธร์ะหว่าง ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อกับ พฤติกรรมการซื้ออาหารออร์แกนิค โดยทำ การวิจัยเชิงสำรวจใช้แบบสอบถามเก็บข้อ มูลจากกลุ่มตัวอย่างอายุระหว่าง 15-35 ปี ที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและเป็นผู้ที่ใส่ใจสุขภาพทั้งสิ้น 400คน ทำการวิเคราะห์ข้อมูล ทางสถิติด้วยการวิเคราะห์เชิงพรรณนา วิเคราะห์ปัจจัยองค์ประกอบ (Factor Analysis) และ วิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัม พันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’s Correlation Coefficient) ผลการวจิยัพบว่า1) ผลการวิจยัพบว่าแบ่งกลุ่มตามรูปแบบการดำ เนินชีวิตได้เป็น 6กลุ่ม (1) กลุ่มHealthy ตามกระแส (2) กลุ่มนักกีฬากล้ามปู(3) กลุ่มนักชอปจอมเชคอิน (4) กลุ่มปาร์ตี้พีเพิล (5) กลุ่ม พ่อบ้านแม่บ้าน (6) กลุ่มนักกิจกรรม Outdoor โดยพบว่ากลุ่ม Healthy ตามกระแสมีความสัมพันธ์ กบัการเปิดรับสื่อFacebook Instagram และ YouTubeกลุ่มนักกีฬากล้ามปูมีความสัมพันธ์กับการ เปิดรับสื่อ YouTube กลุ่มนักชอปจอมเชคอินมีกลุ่มปาร์ตี้พีเพิลและกลุ่มนักกิจกรรม Outdoor มี ความสัมพันธ์กับการเปิดรับสื่อ Instagram และกลุ่มพ่อบ้านแม่บ้านมีความสัมพันธ์กับการเปิดรับ สื่อ Facebook ซึ่งผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐาน โดยเป็นความสัมพันธ์เชิงบวก 2) พฤติกรรมการซื้ออาหารออร์แกนิคของกลุ่ม Healthy ตามกระแส กลุ่มนักกีฬากล้ามปู นักชอปจอมเชคอิน และกลุ่มนักกิจกรรม Outdoor มีพฤติกรรมการซื้อซ้ำ กลุ่มปาร์ตี้พีเพิล และ กลุ่มพ่อบ้านแม่บ้านมีการซื้อซ้ำน้อยคร้ัง 3) การเปิดรับสื่อจากทุกช่องทางมีความสมั พนัธก์ บั พฤติกรรมการซื้อซ้า 4) ผลการวจิยัพบว่า ในการทดสอบพบว่า กลุ่ม Healthy ตามกระแส กลุ่มนกักีฬากล้ามปูมี นักชอปจอมเชคอิน กลุ่มปาร์ตี้พีเพิลกลุ่มพอ่ บ้านแม่บ้าน กลุ่มนักกิจกรรม Outdoor ต่างมี ความสัมพันธ์กับ ปัจจยัที่มีผลต่อการเลือกซื้อ ซึ่งผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานโดยเป็ น ความสัมพันธ์เชิงบวก 5) ปัจจยัที่มีผลการการเลือกซื้อมีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมการซื้ออาหารออร์แกนิคคือ ผู้ที่มีความพึงพอใจในด้านผลิตภัณฑ์ด้านราคา ด้านสถานที่และด้านการส่งเสริมการขาย มี ความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมการซื้อซ้ำ
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558