ความคิดเห็นที่มีต่อพริตตี้ในการนำเสนอสินค้าและพฤติกรรมการซื้อสินค้าของผู้ติดตาม
Files
Publisher
Issued Date
2015
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
113 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b193272
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ธันย์ชนก โชติกันตะ (2015). ความคิดเห็นที่มีต่อพริตตี้ในการนำเสนอสินค้าและพฤติกรรมการซื้อสินค้าของผู้ติดตาม. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5423.
Title
ความคิดเห็นที่มีต่อพริตตี้ในการนำเสนอสินค้าและพฤติกรรมการซื้อสินค้าของผู้ติดตาม
Alternative Title(s)
Opinions of "pretties" in product presentation and purchasing behavior of followers
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) พฤติกรรมการรับข่าวสารผ่านพริตตี้ของ ผู้ติดตามที่มีลักษณะประชากรแตกต่างกัน 2) ความสัมพันธ์ระหวางพฤติกรรมการรับข่าวสารของ ผู้ติดตามกบความคิดเห็นที่มีต่อการนําเสนอสินค้าของพริตตี้ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรม การรับข่าวสารผานพริตตี้กับพฤติกรรมการซื้อสินค้าของผู้ติดตาม 4) ความสัมพันธ์ระหว่างความคิดเห็นที่มีต่อการนําเสนอสินค้าของพริตตี้ กับพฤติกรรมการซื้อสินค้าของผู้ติดตาม กลุ่มตัวอย่าง ของการวิจัยนี้ คือ ผู้ที่ติดตามพริตตี้ทั้ งเพศชายและเพศหญิง ที่มีอายุ 15 – 35 ปี ขึ้นไป จํานวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามออนไลน์เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล และใช้สถิติวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ (Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient) เพื่อทดสอบสมมติฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) เพศต่างกันมีพฤติกรรมการรับข่าวสารจากพริตตี้ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ในขณะที่ อายุ ระดับการศึกษา และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนที่แตกต่างกัน มี พฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ0.001 2) พฤติกรรมการรับข่าวสารของผู้ติดตาม มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความคิดเห็นที่มีต่อการ นําเสนอสินค้าของพริตตี้อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 3) พฤติกรรมการรับข่าวสารของ ผู้ติดตามได้แก่ ช่องทางในการเปิ ดรับ วัตถุประสงค์ในการเปิดรับสารจากพริตตี้มีความสัมพันธ์ ทางบวกกบพฤติกรรมการซื้อสินค้าอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 4) ความคิดเห็นที่มีต่อ การนําเสนอสินค้าของพริตตี้ มีความสัมพันธ์ทางบวกกบพฤติกรรมการซื้อสินค้าของผู้ติดตามอย่าง มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001คําสําคัญ : พฤติกรรมการรับข่าวสาร ความคิดเห็นที่มีต่อการ นําเสนอสินค้าของพริตตี้ พฤติกรรมการซื้อสินค้า พริตตี้ ผู้ติดตาม
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558