• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ
  • GSCM: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ
  • GSCM: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

รูปแบบการดำเนินชีวิต รูปแบบการใช้สื่อออนไลน์ และความตั้งใจซื้อสินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวไทย

by กังสดาล ศิษย์ธานนท์

Title:

รูปแบบการดำเนินชีวิต รูปแบบการใช้สื่อออนไลน์ และความตั้งใจซื้อสินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวไทย

Other title(s):

Thai tourists' lifestyle, online media use and purchasing intention of tourism products and services

Author(s):

กังสดาล ศิษย์ธานนท์

Advisor:

พรพรรณ ประจักษ์เนตร

Degree name:

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

Master's

Degree discipline:

นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม

Degree department:

คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2015

Digital Object Identifier (DOI):

10.14457/NIDA.the.2015.24

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบการตลาดเชิงประสบการณ์ที่ใช้ เทคโนโลยีความจริงเสริมผ่านแคมเปญสื่อสารการตลาดและศึกษาแนวโน้มการใช้เทคโนโลยีความ จริงเสริมในแคมเปญการสื่อสารการตลาดในอนาคต โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ได้แก่ การ วิเคราะห์เนื้อหาเชิงคุณภาพและการสัมภาษณ์เชิงลึก การวิจัยนี้วิเคราะห์ผลงานที่นำเสนอใน แคมเปญโฆษณาจาก “Cannes Lions 2015” ที่ผสมผสานเทคโนโลยีความจริงเสริมกับการสื่อสาร การตลาด จำนวน 10 แคมเปญ โดยมุ่งเน้นการวิเคราะห์องค์ประกอบการตลาดเชิงประสบการณ์ และปัจจัยส่วนประสมการตลาด สำหรับการสัมภาษณ์เชิงลึกใช้การสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง โดยมีผู้ให้ข้อมูลสำคัญได้แก่ นักการตลาดและโฆษณา นักวิชาการ และตัวแทนหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องกับ เทคโนโลยีความจริงเสริม ทั้งหมดจำนวน 8คน ผลการวิเคราะห์เนื้อหาเชิงคุณภาพพบว่า แคมเปญการสื่อสารการตลาดที่ใช้เทคโนโลยี ความจริงเสริมส่วนใหญ่เป็นสินค้าอุปโภคบริ โภคและเทคโนโลยี เพื่อการโฆษณา การ ประชาสัมพันธ์ และการส่งเสริมการขาย แคมเปญการสื่อสารการตลาดที่ใช้เทคโนโลยีความจริง เสริมส่วนใหญ่สร้างการรับรู้การตลาดเชิงประสบการณ์จากประสาทสัมผัส (Sense) และความรู้สึก (Feel) มากที่สุด ผลการสัมภาษณ์เชิงลึกพบว่า แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีความจริงเสริมในการตลาดเชิง ประสบการณ์ในอนาคต มุ่งเน้นการพัฒนาเนื้อหาการตลาดควบคู่ไปกับการใช้ทคโนโลยีความจริง เสริมเพื่อสร้างประสบการณ์เชิงบวกและสร้างความผูกพันให้มีต่อแบรนด์

Description:

วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558

Subject(s):

รูปแบบการดำเนินชีวิต
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ -- ไทย
สื่อสังคมออนไลน์ – ท่องเที่ยว

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

147 แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5426
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • b193289.pdf ( 1,711.91 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSCM: Theses [178]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×