การออกแบบระบบแปลงอย่างเร็วจากจำนวนเศษเหลือเป็นจำนวนตัวเลข
Publisher
Issued Date
2012
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
50 แผ่น ; 30 ซม.
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
นรินทร์ เลิศประเสริฐ (2012). การออกแบบระบบแปลงอย่างเร็วจากจำนวนเศษเหลือเป็นจำนวนตัวเลข. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/543.
Title
การออกแบบระบบแปลงอย่างเร็วจากจำนวนเศษเหลือเป็นจำนวนตัวเลข
Alternative Title(s)
The design of fast conversion from residue number to normal mumber
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
ระบบสมองกลฝังตัว (Embedded Systems),ระบบประมวลผลที่เกี่ยวข้องกบภาพและเสียง , วงจรกรองสัญญาณเชิงเลข, วงจรการเข้ารหัสลับในปัจจุบันมีความรวดเร็วในการทำงานที่สูงขึ้น กว่าในอดีต งานเหล่านี้ต้องการหน่วยคำนวณทางคณิตศาสตร์ ที่มีประสิทธิภาพสูงทั้งใน ด้านความเร็วในการคำนวณและประสิทธิภาพในการประหยัดพลังงาน เริ่มแรกที่ระบบเหล่านี้ มีการพัฒนาขึ้นมา มันใช้คณิตศาสตร์ในระบบจำนวนตัวเลข เข้ามาใช้เป็ นพื้นฐานการคำนวณ เพื่อแกปัญหาต่างๆ ซึ่งมีข้อดีคือมันสามารถขยายขนาดการคำนวณของตัวเลขได้ง่ายโดยการเพิ่ม ตัวเลขหลักใหม่เข้าไปในระบบเท่านั้นมันสามารถบอกปริมาณได้ด้วยค่าน้ำหนักประจำหลักของมัน จึงสามารถเปรียบเทียบ เรียงลำดับ จัดหมู่ได้สะดวก แต่ก็มีข้อเสียเพราะว่าค่าน้ำหนักประจำหลัก ของมันมีการส่งต่อไปยังหลักของตัวเลขข้างเคียง เรียกว่าตัวทด ตัวทดนี้จะเป็นตัวหน่วงการทำงาน ของการประมวลผลทางคณิตศาสตร์นั่นเอง ได้มีการนำจำนวนเศษเหลือขึ้นมาใช้งาน เนื่องจากจำนวนเศษเหลือมีคุณสมบัติที่ไม่ส่ง ค่าน้ำหนักประจำหลักไปยังจำนวนเศษเหลือข้างเคียงทำให้ไม่มีตัวทด เมื่อแต่ละหลักของจำนวน เศษเหลือไม่มีตัวทด มันจึงสามารถแยกกนประมวลผลได้โดยอิสระ ซึ่งเป็นการประมวลผลแบบขนาน ทำให้ได้ผลลัพธ์รวดเร็วกว่าระบบจำนวนตัวเลขแบบดั้งเดิม การประมวลผลด้วยจำนวน เศษเหลือจึงได้รับความนิยมและเข้ามามีบทบาทที่สำคัญในงานประมวลผลที่ต้องการความเร็วสูง ที่มีการแข่งกับเวลา และต้องการความประหยัดพลังงานที่มีอยู่จากแต่จำนวนเศษเหลือก็มีข้อจำกัด อย่างหนึ่งคือมันไม่สามารถบอกปริมาณได้ด้วยตัวเอง ดังนั้น เราจะต้องแปลงจำนวนเศษเหลือ กลับมาเป็นจำนวนตัวเลขเสียก่อน จึงจะทราบค่าของมันได้ การแปลงจำนวนเศษเหลือเป็น จำนวนตัวเลขนั้นมีค่าใช้จ่ายที่สูงทั้งในด้านทรัพยากรและเวลาในการแปลง งานวิจัยนี้จึงคิดค้นการ ออกแบบระบบแปลงอย่างเร็วจากจำนวนเศษเหลือเป็นจำนวนตัวเลขโดยอาศัยทฤษฎีเศษเหลือของจีนและการเปิ ดตาราง Look-Up ผลที่ได้คือ สามารถลดเวลาในการแปลงแต่ละครั้งได้เป็น ที่น่าพอใจ
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (สถิติประยุกต์และเทคโนโลยีสารสนเทศ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2012