พฤติกรรมการเปิดรับชม ความต้องการ และความพึงพอใจ ต่อทีวีดิจิทัลของผู้ชมในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
Files
Publisher
Issued Date
2016
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
119 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b193283
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
อชิระ ดวงหอม (2016). พฤติกรรมการเปิดรับชม ความต้องการ และความพึงพอใจ ต่อทีวีดิจิทัลของผู้ชมในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5432.
Title
พฤติกรรมการเปิดรับชม ความต้องการ และความพึงพอใจ ต่อทีวีดิจิทัลของผู้ชมในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
Alternative Title(s)
The behavior of exposure, needs and satisfaction towards digital television of audiences in Bangkok Metropolitan Area
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเปิดรับชม ความต้องการ และความพึง พอใจต่อทีวีดิจิทัลของผู้ชมในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยใช้การวิจัยเชิงสำรวจ เก็บ ข้อมูล จำนวน 400 คน การวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยเชิงสำรวจกระทำโดยใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์สำเร็จรูป SPSS ใช้สถิติ t-test, One Way – Anova ทดสอบสมมติฐานการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า ผู้ชมรายการทีวีดิจิทัลส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุต่ำกว่า 25 ปี มีระดับ การศึกษาระดับปริญญาตรี อาชีพนักศึกษา มีรายได้เฉลี่ย 10,001 - 20,000 บาท ผลการ ทดสอบสมมติฐาน พบว่า 1) ผู้ชมที่มีลักษณะทางประชากรด้าน รายได้แตกต่างกัน มีการเปิดรับชมรายการทีวี ดิจิทัลแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญสำคัญทางสถิติ ส่วนผู้ชมที่มี เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ แตกต่างกัน มีการเปิดรับชมทีวีดิจิทัล ไม่แตกต่างกัน 2) ผู้ชมที่มีลักษณะทางประชากรด้าน อายุ การศึกษา อาชีพ แตกต่างกัน มีความ ต้องการในการรับชมรายการทีวีดิจิทัลแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนผู้ชมที่มี เพศ รายได้ต่างกัน มีการเปิดรับชมทีวีดิจิทัล ไม่แตกต่างกัน 3) ผู้ชมที่มีลักษณะทางประชากรด้าน อายุ การศึกษา อาชีพ แตกต่างกัน มีความพึง พอใจในการรับชมรายการทีวีดิจิทัลแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนผู้ชมที่มี เพศ รายได้ ต่างกัน มีการเปิดรับชมทีวีดิจิทัล ไม่แตกต่างกัน
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559