• English
    • ไทย
  • ไทย 
    • English
    • ไทย
  • เข้าสู่ระบบ
ดูรายการข้อมูล 
  •   หน้าแรกของ คลังปัญญา
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะการจัดการการท่องเที่ยว
  • GSTM: Theses
  • ดูรายการข้อมูล
  •   หน้าแรกของ คลังปัญญา
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะการจัดการการท่องเที่ยว
  • GSTM: Theses
  • ดูรายการข้อมูล
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เรียกดูข้อมูล

ข้อมูลทั้งหมดของ คลังปัญญาชุมชน & กลุ่มข้อมูลวันที่เผยแพร่ผู้แต่งชื่อเรื่องหัวเรื่องวันที่เพิ่มข้อมูลประเภททรัพยากรกลุ่มข้อมูลนี้วันที่เผยแพร่ผู้แต่งชื่อเรื่องหัวเรื่องวันที่เพิ่มข้อมูลประเภททรัพยากร

บัญชีของฉัน

เข้าสู่ระบบ

การท่องเที่ยวเชิงสุขภาวะด้านการพัฒนาการฟื้นฟูจิตวิญญาณ : ปัจจัยแรงจูงใจที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจและการตั้งใจกลับมาท่องเที่ยวซ้ำ กรณีศึกษา จังหวัดเชียงใหม่

by ชื่นนภา นิลสนธิ

ชื่อเรื่อง:

การท่องเที่ยวเชิงสุขภาวะด้านการพัฒนาการฟื้นฟูจิตวิญญาณ : ปัจจัยแรงจูงใจที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจและการตั้งใจกลับมาท่องเที่ยวซ้ำ กรณีศึกษา จังหวัดเชียงใหม่

ชื่อเรื่องอื่นๆ:

Wellness tourism on spiritual retreat : motivation that influencing tourist satisfaction and intention to revisit case study Chiang Mai Province

ผู้แต่ง:

ชื่นนภา นิลสนธิ

ผู้ควบคุมงานวิจัย:

สุวารี นามวงค์

ชื่อปริญญา:

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

ระดับปริญญา:

Master's

สาขาวิชา:

การจัดการการท่องเที่ยวแบบบูรณาการ

คณะ/หน่วยงาน:

คณะการจัดการการท่องเที่ยว

หน่วยงานที่ประสาทปริญญา:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

วันที่เผยแพร่:

2559

หน่วยงานที่เผยแพร่:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

บทคัดย่อ/เนื้อเรื่องย่อ:

การวิจยัคร้ังนี้มุ่งเน้นที่จะศึกษาเรื่องการท่องเที่ยวเชิงสุขภาวะด้านการพัฒนาการฟื้นฟูจิต วิญญาณ : ปัจจยัแรงจูงใจที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจและการตั้งใจกลับมาท่องเที่ยวซ้า กรณีศึกษา จังหวัดเชียงใหม่โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยผลัก ดันทางการท่องเที่ยวเชิงสุขภาวะที่ มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว 2) เพื่อศึกษาปัจจัยดึงดูดทางการท่องเที่ยวเชิงสุขภาวะ ที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนัก ท่องเที่ยวที่มีอิทธิพลต่อการตั้งใจกลับมาท่องเที่ยวซ้ำโดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Approach) ซึ่งมีประชากรกลุ่มตวัอย่าง ได้แก่ นักท่องเที่ยวเชิงสุขภาวะด้านการพัฒนาการฟื้นฟูจิตวิญญาณใน จังหวัดเชียงใหม่จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และ ใช้สถิตการถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ในการวิเคราะห์ข้อมูลหาอิทธิพลของ แรงจูงใจที่มีต่อความพึงพอใจและความพึงพอใจที่มีอิทธิพลต่อการต้งัใจกลับมาท่องเที่ยวซ้ำ ผลการวิจัยสามารถแบ่งตามวตัถุประสงค์พบว่า ปัจจยัผลัก ดันทางการท่องเที่ยวเชิงสุขภาวะ มีอิทธิพลทางบวกต่อความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวโดยการผ่อนคลายเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพล ทางบวกสูงสุด รองลงมาคือการพบสิ่งใหม่ความสมบูรณ์ทางกายภาพ ความภูมิใจในตนเองการ หลีกหนีและการอยู่เหนือตนเอง ตามลำดับสำหรับปัจจัยดึงดูดทางการท่องเที่ยวเชิงสุขภาวะ มีอิทธิพลทางบวกต่อความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว โดยการมีบรรยากาศที่สงบ เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลทางบวกสูงสุด รองลงมา คือ การตั้งอยู่ท่ามกลางธรรมชาติการมีสถานที่ที่มีความไกลจากที่ อยู่ถาวร การมีประสบการณ์ร่วมอย่างแท้จริง การมีประวัติศาสตร์ที่น่าสนใจ ตามลำดับ สำหรับ ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว มีอิทธิพลทางบวกต่อการตั้งใจกลับมาท่องเที่ยวซ้ำ นอกจากนี้ การศึกษาคร้ังนี้มีผลประโยชน์ต่อทางนักวิชาการ ได้แก่ ช่วยเติมเต็มช่องว่างทางการศึกษาเกี่ยวกบั การท่องเที่ยวเชิงสุขภาวะด้านการพัฒนาการฟื้นฟูจิตวิญญาณ ในฝั่งอุปสงค์ (Demand) เกี่ยวกับแรงจูงใจทางการท่องเที่ยวเชิงสุขภาวะต่อความพึงพอใจและการตั้งใจกลับมาท่องเที่ยวซ้ำสำหรับ ทางด้านการปฏิบัติการได้แก่ผู้ประกอบการสามารถนำผลวิจัยไปปรับใช้ในการเติมเต็มความต้องการของนักท่องเที่ยวที่มีความเฉพาะด้าน รวมถึงพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการท่องเที่ยว คือ จุดหมายปลายทาง ให้ตอบสนองต่อความตอ้งการอย่างเหมาะสม เพื่อให้เกิดความพึงพอใจและ ตั้งใจกลับมาท่องเที่ยวซ้ำ

รายละเอียดเพิ่มเติม:

วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การจัดการการท่องเที่ยวแบบบูรณาการ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559

หัวเรื่องมาตรฐาน:

การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ -- ไทย -- เชียงใหม่
นักท่องเที่ยวต่างชาติ -- ไทย -- อุปทานและอุปสงค์

ประเภททรัพยากร:

วิทยานิพนธ์

ความยาว:

164 แผ่น

ชนิดของสื่อ:

Text

รูปแบบแฟ้มข้อมูล:

application/pdf

ภาษา:

tha

สิทธิในการใช้งาน:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5452
แสดงระเบียนรายการแบบเต็ม

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้ (CONTENT)

Thumbnail
ดู
  • b193210.pdf ( 3,462.08 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSTM: Theses [127]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×