การรับรู้ของประชากรศาสตร์ที่มีต่อการท่องเที่ยวเชิงศาสนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา : วัดสมานรัตนาราม จังหวัดฉะเชิงเทรา
Files
Publisher
Issued Date
2016
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
190 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
b193212
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ธนิกานต์ มะรินทร์ (2016). การรับรู้ของประชากรศาสตร์ที่มีต่อการท่องเที่ยวเชิงศาสนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา : วัดสมานรัตนาราม จังหวัดฉะเชิงเทรา. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5454.
Title
การรับรู้ของประชากรศาสตร์ที่มีต่อการท่องเที่ยวเชิงศาสนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา : วัดสมานรัตนาราม จังหวัดฉะเชิงเทรา
Alternative Title(s)
Perception of demography toward on religious tourism to improve sustainable tourism : a case study of Wat Samanrattanaram Chachoengsao
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
งานวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรับรู้ของชุมชนที่มีต่อผลกระทบจากการท่องเที่ยว เชิงศาสนาได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมวัฒนธรรม ตลอดจนด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อหาแนวทางการจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาวัดสมานรัตนาราม จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจากสมาชิกในชุมชน จำนวน 245 ราย ซึ่งจะนํามาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพื้นฐาน ได้แก่ค่าความถี่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่า เบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติ Independent t-Test กับ One-Way ANOVA ผลการศึกษาพบว่า สมาชิกในชุมชนมีการรับรู้ผลกระทบจากการท่องเที่ยวเชิงศาสนาอยู่ในเชิงบวกได้แก่ ด้านสังคม วัฒนธรรม และด้านสิ่งแวดล้อม แต่ในขณะที่ด้านเศรษฐกิจ สมาชิกในชุมชนมีการรับรู้ถึง ผลกระทบเชิงลบ ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ลักษณะส่วนบุคคลของสมาชิกในชุมชน ได้แก่ เพศ อายุสถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ต่อเดือน และภูมิลําเนาเดิม มีผลต่อการรับรู้ ผลกระทบจากการท่องเที่ยวเชิงศาสนาที่แตกต่างกันท้ัง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ผลที่ได้จากงานวิจัยคร้ังนี้สามารถช่วยชี้แนวทางการจัดการการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนเพื่อลดผลกระทบการท่องเที่ยวเชิงศาสนาที่ส่งผลถึงในเชิงลบและช่วยส่งเสริม ผลกระทบการท่องเที่ยวในเชิงบวกอีกทั้งไม่ส่งผลกระทบต่อแหล่งท่องเที่ยวเชิงศาสนาในชุมชน
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การจัดการการท่องเที่ยวแบบบูรณาการ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559