การวิเคราะห์พฤติกรรมนักท่องเที่ยวชาวไทยภายหลังเหตุการณ์น้ำมันดิบรั่วบริเวณอ่าวพร้าว เกาะเสม็ด จังหวัดระยอง
Files
Publisher
Issued Date
2016
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
151 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
b193302
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
กฤษรักษ์ อยู่เจริญ (2016). การวิเคราะห์พฤติกรรมนักท่องเที่ยวชาวไทยภายหลังเหตุการณ์น้ำมันดิบรั่วบริเวณอ่าวพร้าว เกาะเสม็ด จังหวัดระยอง. Retrieved from: b193302, https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5488.
Title
การวิเคราะห์พฤติกรรมนักท่องเที่ยวชาวไทยภายหลังเหตุการณ์น้ำมันดิบรั่วบริเวณอ่าวพร้าว เกาะเสม็ด จังหวัดระยอง
Alternative Title(s)
The analysis of Thai tourists behavior after oil spilled at Ao Phrao Koh Samet Rayong, Thailand
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
จากเหตุการณ์น้ำมันดิบรั่วบริเวณอ่าวพร้าว เกาะเสม็ด จังหวัดระยอง จำนวน 50,000 ลิตร เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม ปีพ.ศ. 2556 เกิดผลกระทบอย่างมากต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นทรัพยากรทางการท่องเที่ยวที่สำคัญรวมไปถึงภาพลักษณ์ทางการท่องเที่ยวผู้วิจัยถึงมีวัตถุประสงค์เพื่อหากลุ่มปัจจัยต่อทัศนคติด้านต่าง ๆ โดยใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (Exploratory Factor Analysis) ไปสู่วิเคราะห์พฤติกรรมทางการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวไทยภายหลังวิกฤติเพื่อเปรียบเทียบ ความแตกต่างของข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ในทัศนคติต่อปัจจัยที่ทำให้เกิดการตัดสินใจซื้อบริการทางการท่องเที่ยวภายหลังเหตุการณ์น้ำมันดิบรั่ว หลังจากนั้นใช้การวิเคราะห์การถดถอย โลจิสติกส์ (Logistic Regression) เพื่อหาความสัมพนธ์ระหว่างทัศนคติต่อปัจจัยในการกลับมาท่องเที่ยวเกาะเสม็ด จังหวัดระยอง อีกคร้ัง โดยการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ใช้แบบสอบถามจำนวน 300 ชุด ใช้การสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม ผลการวิเคราะห์พบว่าเพศหญิงและเพศชายและกลุ่มอาชีพพนักงานเอกชนและอาชีพนักเรียน / นักศึกษา มีทัศนคติด้านทรัพยากรทางการท่องเที่ยวและด้านสิ่งอำนวยความสะดวกที่แตกต่างกัน กลุ่มอายุที่แตกต่างกันมีทัศนคติต่อด้านการบริการข่าวสาร และการโฆษณาประชาสัมพันธ์และด้านสิ่งอำนวยความสะดวกแตกต่างกัน กลุ่มระดับการศึกษาที่ แตกต่างกันมีทัศนคติต่อด้านทรัพยากรทางการท่องเที่ยว ด้านสิ่งอำนวยความสะดวกและด้านการบริการข่าวสารและการโฆษณาประชาสัมพันธ์ที่แตกต่างกัน และกลุ่มรายได้ที่แตกต่างกันนั้นไม่มี ความแตกต่างกันในทัศนคติต่อปัจจัยในการตัดสินใจซื้อบริการทางการท่องเที่ยวภายหลังเหตุการณ์ น้ำมันดิบรั่ว อีกทั้งพบอีกว่า ปัจจัยดัานทรัพยากรทางการท่องเที่ยวมีความสัมพันธ์กับการกลับมา ท่องเที่ยวซ้ำอีกคร้ังภายหลังเหตุการณ์น้ำมันรั่วบริเวณอ่าวพร้าวของนักท่องเที่ยวชาวไทยผล จากการวิจัยในคร้ังนี้จะเป็นประโยชน์ในการวางแผนและนโยบายการฟื้นฟูและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวที่เคยเกิดเหตุการณ์ภัยพิบัติหรือวิกฤติทั้งจากมนุษย์และทางธรรมชาติและแหล่งท่องเที่ยวที่ที่ไม่เคยประสบภัยพิบัติต่อไป
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การจัดการการท่องเที่ยวแบบบูรณาการ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559