• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะสถิติประยุกต์
  • GSAS: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะสถิติประยุกต์
  • GSAS: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

อิทธิพลของการได้รับการอบรมเลี้ยงดู ทัศนคติ การรับข่าวสาร และแรงจูงใจ ที่มีต่อพฤติกรรมจิตสาธารณะของผู้ที่อยู่ในวัยทำงานในกรุงเทพมหานคร

by ชมัยพร พึ่งม้าย

Title:

อิทธิพลของการได้รับการอบรมเลี้ยงดู ทัศนคติ การรับข่าวสาร และแรงจูงใจ ที่มีต่อพฤติกรรมจิตสาธารณะของผู้ที่อยู่ในวัยทำงานในกรุงเทพมหานคร

Other title(s):

The relationship of upbringing, attitude, communication and motivation for public mind of working age adult in Bangkok

Author(s):

ชมัยพร พึ่งม้าย

Advisor:

เดือนเพ็ญ ธีรวรรณวิวัฒน์

Degree name:

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

Master's

Degree discipline:

สถิติประยุกต์

Degree department:

คณะสถิติประยุกต์

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2020

Digital Object Identifier (DOI):

10.14457/NIDA.the.2020.54

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของการอบรมเลี้ยงดู และการรับข่าวสารที่มีต่อพฤติกรรมจิตสาธารณะโดยผ่านทัศนคติในการทำกิจกรรมและแรงจูงใจในการมีส่วนร่วมของผู้ที่อยู่ในวัยทำงานในกรุงเทพมหานคร โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ Simultaneous equations model เก็บรวบรวมข้อมูลจากตัวอย่างผู้ที่มีอายุระหว่าง 20-59 ปี จำนวนทั้งสิ้น 384 คน โดยการใช้แบบสอบถามออนไลน์ และใช้มาตราวัดแบบมาตรประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ ผลการศึกษาพบว่า พฤติกรรมจิตสาธารณะ 3 รูปแบบ ได้แก่ การบริจาคเงิน การช่วยเหลือคนแปลกหน้า และการเป็นอาสาสมัคร ได้รับอิทธิพลจากการอบรมเลี้ยงดูและการรับข่าวสารโดยผ่านทัศนคติในการทำกิจกรรมและแรงจูงใจในการมีส่วนร่วม ทั้งนี้ ค่าความสอดคล้องของตัวแบบ ได้แก่ ค่าไคสแควร์สัมพัทธ์ เท่ากับ 4.108 ค่า GFI เท่ากับ 0.829 ค่า CFI เท่ากับ 0.870 ค่า RMSEA เท่ากับ 0.090 ค่า SRMR เท่ากับ 0.076 และค่า NFI เท่ากับ 0.836 ผลการวิเคราะห์ พบว่า การอบรมเลี้ยงดูมีอิทธิพลทางอ้อมเชิงบวกต่อพฤติกรรมจิตสาธารณะโดยอ้อมผ่านทัศนคติ มีขนาดของอิทธิพลรวมเท่ากับ 0.107 ร้อยละ 64.48 ของอิทธิพลดังกล่าวผ่านทัศนคติ การรับข่าวสารมีอิทธิพลทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อพฤติกรรมจิตสาธารณะโดยอ้อมผ่านแรงจูงใจ มีขนาดของอิทธิพลรวมเท่ากับ 0.287 ร้อยละ 82.93 เป็นอิทธิพลทางตรง ตัวแปรทั้งหมดในตัวแบบสามารถร่วมอธิบายพฤติกรรมจิตสาธารณะ ได้ร้อยละ 17.00  
This study aimed to study and examine the influence of upbringing and communication through attitude and motivation for public mind of working age adult in Bangkok. This study applied Simultaneous equations model in the research. The sample composed of working age adult who reside in Bangkok, year of age between 20-59 for 384 persons. Data was collected through online questionnaires using 5-point Likert scale. The result show that three forms of public mind compose of donation, giving help to strangers and volunteering influenced by upbringing and communication through attitude and motivation. The goodness of fit indexes of this study showed chi-square relative (chi-square/df) was 4.108, GFI was 0.829, CFI was 0.870, RMSEA was 0.090, SRMR was 0.076, and NFI was 0.836. The results showed that upbringing had an indirect positive effect on public mind through attitude, total effect was 0.107 and 64.48% was indirect effect. Furthermore, communication had both direct positive effect and indirect positive effect on public mind through motivation, total effect was 0.287 and 82.93% was direct effect. All variables in the model can explain public mind at 17.00%.  

Description:

วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (สถิติประยุกต์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2563

Subject(s):

ทัศนคติ
แรงจูงใจ (จิตวิทยา)

Keyword(s):

e-Thesis
พฤติกรรมจิตสาธารณะ
การอบรมเลี้ยงดู
การรับรู้ข่าวสาร

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

122 แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5532
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • b212269.pdf ( 1,859.01 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSAS: Theses [224]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×