• English
    • ไทย
  • ไทย 
    • English
    • ไทย
  • เข้าสู่ระบบ
ดูรายการข้อมูล 
  •   หน้าแรกของ คลังปัญญา
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะการจัดการการท่องเที่ยว
  • GSTM: Theses
  • ดูรายการข้อมูล
  •   หน้าแรกของ คลังปัญญา
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะการจัดการการท่องเที่ยว
  • GSTM: Theses
  • ดูรายการข้อมูล
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เรียกดูข้อมูล

ข้อมูลทั้งหมดของ คลังปัญญาชุมชน & กลุ่มข้อมูลวันที่เผยแพร่ผู้แต่งชื่อเรื่องหัวเรื่องวันที่เพิ่มข้อมูลประเภททรัพยากรกลุ่มข้อมูลนี้วันที่เผยแพร่ผู้แต่งชื่อเรื่องหัวเรื่องวันที่เพิ่มข้อมูลประเภททรัพยากร

บัญชีของฉัน

เข้าสู่ระบบ

การแบ่งส่วนตลาดนักท่องเที่ยวตามการรับรู้ ความคาดหวังและพฤติกรรมการท่องเที่ยวโดยชุมชน

by อุณากุล อภิวนัสบดี

ชื่อเรื่อง:

การแบ่งส่วนตลาดนักท่องเที่ยวตามการรับรู้ ความคาดหวังและพฤติกรรมการท่องเที่ยวโดยชุมชน

ชื่อเรื่องอื่นๆ:

Segment of tourists market according to perceptions, expectations and community based-tourism behavior in community based-tourism

ผู้แต่ง:

อุณากุล อภิวนัสบดี

ผู้ควบคุมงานวิจัย:

รักษ์พงศ์ วงศาโรจน์

ชื่อปริญญา:

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

ระดับปริญญา:

Master's

สาขาวิชา:

การจัดการการท่องเที่ยวแบบบูรณาการ

คณะ/หน่วยงาน:

คณะการจัดการการท่องเที่ยว

หน่วยงานที่ประสาทปริญญา:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

วันที่เผยแพร่:

2563

ตัวระบุวัตถุจิจิทัล (ดีโอไอ):

10.14457/NIDA.the.2020.47

หน่วยงานที่เผยแพร่:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

บทคัดย่อ/เนื้อเรื่องย่อ:

การศึกษาวิจัยเรื่อง “การแบ่งส่วนตลาดนักท่องเที่ยวตามการรับรู้ ความคาดหวังและพฤติกรรมการท่องเที่ยวโดยชุมชน” ในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อประเมินการรับรู้และความคาดหวังของนักท่องเที่ยวต่อการท่องเที่ยวโดยชุมชนในพื้นที่เครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชน 2) เพื่อศึกษาถึงความแตกต่างของนักท่องเที่ยวโดยชุมชนในลักษณะทางด้านประชากรศาสตร์ ภูมิศาสตร์ จิตวิทยา พฤติกรรมนักท่องเที่ยว ที่มีการรับรู้และคาดหวังต่อการท่องเที่ยวโดยชุมชน และลักษณะพฤติกรรมการท่องเที่ยวโดยชุมชน 3) เพื่อจำแนกกลุ่มนักท่องเที่ยวโดยชุมชนตามความแตกต่างของลักษณะทางด้านประชากรศาสตร์ ภูมิศาสตร์ จิตวิทยา พฤติกรรมนักท่องเที่ยว ที่มีลักษณะพฤติกรรมการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่แตกต่างกัน ในการศึกษาครั้งนี้ ผู้วิจัยได้กำหนดระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยการใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากนักท่องเที่ยวที่เคยเดินทางท่องเที่ยวในพื้นที่การท่องเที่ยวโดยชุมชน จำนวนทั้งสิ้น 400 ชุด ผลการวิจัยพบว่านักท่องเที่ยวที่เดินทางท่องเที่ยวในการท่องเที่ยวโดยชุมชนมีความคาดหวังต่อคุณค่าของการท่องเที่ยวโดยชุมชนสูงกว่าการรับรู้จริง ในด้านคุณค่าในด้านราคา คุณค่าเชิงสารัตถะ และคุณค่าทางด้านอารมณ์ แต่มีการรับรู้ในด้านคุณค่าด้านประสบการณ์ในการเรียนรู้ ร่วมกิจกรรมและวัฒนธรรมสูงกว่าความคาดหวัง และมีการรับรู้คุณค่าจริงเท่ากับความคาดหวังในคุณค่าด้านประสบการณ์ในความสัมพันธ์ระหว่างนักท่องเที่ยวและชุมชน นอกจากนี้ยังพบว่านักท่องเที่ยวที่มีความแตกต่างทางด้าน ประชากรศาสตร์ ภูมิศาสตร์ จิตวิทยา พฤติกรรมนักท่องเที่ยว มีความคาดหวัง การรับรู้จริง และพฤติกรรมการท่องเที่ยวโดยชุมชนแตกต่างกัน
Research study " "Segment of Tourists Market According to Perceptions, Expectations and Community Based-tourism Behavior in Community Based-tourism” This time, the objectives of this time were 1) to assess tourists' perceptions and expectations towards community tourism in the CBT network area. Community-based tourists in terms of demography, geography, psychology, tourist behavior. That are perception and expectation for tourism by the community 3) to categorize tourists groups by community according to differences in demographic, geography, psychological characteristics of tourist Which have different characteristics of community tourism behavior In this study The researcher has established a quantitative research methodology. (Quantitative Research) by using questionnaires as a tool to collect information from tourists who have traveled in the community tourism area. Total 400 sets The results of the study showed that tourists traveling in community tourism had higher expectations of the value of community tourism than actually perceived. In value, in price Essence value and emotional value but there is an awareness of the value of learning experience. Joining activities and culture above expectations and perceived the true value as expected in the experience value in the relationship between tourists and communities. In addition, it was found that tourists with different aspects Demography, geography, psychology, tourist behavior Have expectation Real perception and community tourism behavior is different.

รายละเอียดเพิ่มเติม:

วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การจัดการการท่องเที่ยวแบบบูรณาการ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2563

หัวเรื่องมาตรฐาน:

การรับรู้
ความคาดหวัง (จิตวิทยา)
การท่องเที่ยวโดยชุมชน

คำสำคัญ:

คุณค่าของการท่องเที่ยวโดยชุมชน
e-Thesis

ประเภททรัพยากร:

วิทยานิพนธ์

ความยาว:

261 แผ่น

ชนิดของสื่อ:

Text

รูปแบบแฟ้มข้อมูล:

application/pdf

ภาษา:

tha

สิทธิในการใช้งาน:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5568
แสดงระเบียนรายการแบบเต็ม

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้ (CONTENT)

Thumbnail
ดู
  • b212316.pdf ( 7,123.58 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSTM: Theses [119]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×