• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • หน่วยงาน
  • สำนักบริการการศึกษาและบรรณสาร
  • In Processing
  • Dissertations, Theses, Term Papers
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • หน่วยงาน
  • สำนักบริการการศึกษาและบรรณสาร
  • In Processing
  • Dissertations, Theses, Term Papers
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

The Success of Community-based Tourism Management: A Case Study of Thaka Floating Market, Amphawa District, Samut Songkham Province

ความสำเร็จในการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน: กรณีศึกษา ตลาดน้ำท่าคาอำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม

by Jaranya Kongphet; จรัญญา คงเพชร; Somsak Samukkethum; สมศักดิ์ สามัคคีธรรม

Title:

The Success of Community-based Tourism Management: A Case Study of Thaka Floating Market, Amphawa District, Samut Songkham Province
ความสำเร็จในการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน: กรณีศึกษา ตลาดน้ำท่าคาอำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม

Advisor:

Somsak Samukkethum
สมศักดิ์ สามัคคีธรรม

Issued date:

12/8/2022

Publisher:

National Institute of Development Administration

Abstract:

The purpose of this research is to study tourism management by community of Tha Kha Floating Market, Amphawa District, Samut Songkhram Province in order to study the process that has led to the tourism by the community of Tha Kha Floating Market, Amphawa District, Samut Songkhram Province be successful. In addition, it is to study problems and obstacles including recommendations in the development of management by community system using qualitative research by collecting data with documents, insight interview, and observation from main data provider, and analyze data from interviews with examining Triangle Method. The result is that tourism management by community of Tha Kha floating market can occur under five conditions. They contain that first is resource and culture. Second is community management. Third is leadership. Fourth is trust of community members, and fifth is support from external agencies. All five conditions, therefore, cause tourism management by the community of Tha Kha floating market. Through passing five indicators, there consists of as follows: Firstly, number of tourists meet a goal. Secondly, villagers have their own jobs and have more incomes. Thirdly, there are conservation of tradition and local culture and arts. Fourthly, there is preservation and rehabilitation of natural resources and environment. In addition, fifthly, there is development of life quality of villagers in a community. For the found problems in board administration, there are conflicts in management because of lack of unity and listening to other opinions which reflected from various activities of discontinuous floating markets until it is unable to create as a tourism event calendar.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนของตลาดน้ำท่าคา อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม เพื่อศึกษากระบวนการที่ส่งผลให้การท่องเที่ยวโดยชุมชนของตลาดน้ำท่าคา อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงครามประสบความสำเร็จ และเพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรครวมถึงข้อเสนอแนะในการพัฒนาระบบการการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการศึกษาเอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึก และการสังเกตผู้ให้ข้อมูลหลัก วิเคราะห์ข้อมูลจากบทสัมภาษณ์ตรวจสอบข้อมูลโดยวิธีสามเส้า ผลการวิจัยพบว่า การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนของตลาดน้ำท่าคาเกิดขึ้นได้ภายใต้ห้าเงื่อนไข ประกอบไปด้วย หนึ่งทรัพยากรและวัฒนธรรม สองการจัดการชุมชน สามภาวะผู้นำ สี่ความไว้วางใจของสมาชิกในชุมชน ห้าการสนับสนุนจากหน่วยงายภายนอก ทั้งห้าเงื่อนไขจึงก่อให้เกิดเป็นการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนของตลาดน้ำท่าคา โดยผ่านห้าตัวชี้วัดประกอบไปด้วย หนึ่งจำนวนนักท่องเที่ยวตรงตามเป้าหมาย สองชาวบ้านมีงานทำและมีรายได้เพิ่มขึ้น สามมีการอนุรักษ์ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น สี่มีการอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ห้าการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชาวบ้านในชุมชน สำหรับปัญหาที่พบคือในการบริหารงานแบบคณะกรรมการ มีความขัดแย้งในด้านบริหารจัดการ ขาดความสามัคคี ขาดการรับฟังความคิดเห็น สะท้อนได้จากการจัดกิจกรรมต่างๆ ของตลาดน้ำที่ไม่ต่อเนื่อง จนไม่สามารถสร้างเป็นปฏิทินกิจกรรมการท่องเที่ยวได้

Keyword(s):

การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ตลาดน้ำท่าคา
ความสำเร็จในการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน

Type:

Text

Language:

tha

URI:

https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5646
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • 5920511002.pdf ( 2,572.41 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • Dissertations, Theses, Term Papers [192]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×