dc.contributor.advisor | วุฒิไกร งามศิริจิตต์ | th |
dc.contributor.author | พงศกรณ์ เหลืองประเสริฐ | th |
dc.date.accessioned | 2022-03-03T04:23:36Z | |
dc.date.available | 2022-03-03T04:23:36Z | |
dc.date.issued | 2020 | th |
dc.identifier.other | b212328 | th |
dc.identifier.uri | https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5649 | th |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2563 | th |
dc.description.abstract | การศึกษาเรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลความตั้งใจลาออกและคงอยู่ของพนักงาน: กรณีศึกษา บริษัทผลิตสินค้าเกี่ยวกับบิสกิตและหมากฝรั่งแห่งหนึ่ง มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาข้อมูลที่มีความสัมพันธ์ต่อความตั้งใจลาออกและคงอยู่ของพนักงาน และ 2) สร้างแบบจำลองในการทำนายความตั้งใจลาออกและคงอยู่ของพนักงาน การศึกษาในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยการใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากประชากรพนักงานส่วนโรงงานผลิตของบริษัททั้งหมดจำนวน 252 คน ได้แบบสอบถามครบถ้วนสมบูรณ์จำนวน 179 ชุด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้อัลกอริทึมต้นไม้ตัดสินใจ ซึ่งเป็นหนึ่งในเครื่องมือสำหรับการทำเหมืองข้อมูล ผลการศึกษาสำหรับคำถามวิจัยที่ 1 พนักงานที่ปฏิบัติงานในบริษัทผลิตสินค้าเกี่ยวกับบิสกิตและหมากฝรั่งแห่งหนึ่งมีความตั้งใจที่จะลาออกหรือไม่ พบว่า พนักงานไม่มีความตั้งใจที่จะลาออกจากบริษัทร้อยละ 87.15 สำหรับคำถามวิจัยที่ 2 ข้อมูลอะไรที่มีความสัมพันธ์ต่อความตั้งใจลาออกของพนักงานที่ปฏิบัติงานในบริษัทผลิตสินค้าเกี่ยวกับบิสกิตและหมากฝรั่งแห่งหนึ่ง พบว่า คะแนนประเมินผลการทำงาน ความหลากหลายของงาน และความอิสระในการทำงาน มีความสัมพันธ์ต่อความตั้งใจลาออกและคงอยู่ของพนักงาน | th |
dc.description.abstract | The objectives of this study were to 1) to study data which related to employees' turnover and remaining intention 2) to build employees' turnover and remaining intention model. The present study was based on a quantitative research designed. Data was collected by questionnaire from 252 total employees of factory basement, 179 questionnaires were collected. The data collected were analyzed with data mining tool - a decision tree algorithm. The finding revealed that: 1) Most of employees have no turnover intention, 87.15% of employees would stay with their current employer. 2) Performance evaluation's score, task variety and job autonomy were related with employees' turnover and remaining intention. | th |
dc.description.provenance | Made available in DSpace on 2022-03-03T04:23:36Z (GMT). No. of bitstreams: 2
5820611011.pdf: 5130231 bytes, checksum: 1d3159c3409a7582741eb7ce5822e46c (MD5)
license.txt: 202 bytes, checksum: b73cf3ce748735a79944aa8bb026b893 (MD5)
Previous issue date: 12 | th |
dc.format.extent | 165 แผ่น | th |
dc.format.mimetype | application/pdf | th |
dc.language.iso | tha | th |
dc.publisher | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ | th |
dc.rights | ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0) | th |
dc.subject | e-Thesis | th |
dc.subject | ต้นไม้ตัดสินใจ | th |
dc.subject | ความตั้งใจลาออก | th |
dc.subject | คะแนนประเมินผลการทำงาน | th |
dc.subject | ความหลากหลายของงาน | th |
dc.subject | ความอิสระในการทำงาน | th |
dc.subject.other | การวิเคราะห์ข้อมูล | th |
dc.subject.other | เหมืองข้อมูล | th |
dc.title | การวิเคราะห์ข้อมูลความตั้งใจลาออกและคงอยู่ของพนักงาน: กรณีศึกษา บริษัทผลิตสินค้าเกี่ยวกับบิสกิตและหมากฝรั่งแห่งหนึ่ง | th |
dc.title.alternative | Employees' intention to stay and leave analytics : a case study of biscuit and gum manufacturing | th |
dc.type | Text | th |
mods.genre | วิทยานิพนธ์ | th |
mods.physicalLocation | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา | th |
thesis.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | th |
thesis.degree.level | Master's | th |
thesis.degree.discipline | การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ | th |
thesis.degree.grantor | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ | th |
thesis.degree.department | คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ | th |
dc.identifier.doi | 10.14457/NIDA.the.2020.51 | |