• English
    • ไทย
  • ไทย 
    • English
    • ไทย
  • เข้าสู่ระบบ
ดูรายการข้อมูล 
  •   หน้าแรกของ คลังปัญญา
  • หน่วยงาน
  • สำนักบรรณสารการพัฒนา
  • In Processing
  • Dissertations, Theses, Term Papers
  • ดูรายการข้อมูล
  •   หน้าแรกของ คลังปัญญา
  • หน่วยงาน
  • สำนักบรรณสารการพัฒนา
  • In Processing
  • Dissertations, Theses, Term Papers
  • ดูรายการข้อมูล
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เรียกดูข้อมูล

ข้อมูลทั้งหมดของ คลังปัญญาชุมชน & กลุ่มข้อมูลวันที่เผยแพร่ผู้แต่งชื่อเรื่องหัวเรื่องวันที่เพิ่มข้อมูลประเภททรัพยากรกลุ่มข้อมูลนี้วันที่เผยแพร่ผู้แต่งชื่อเรื่องหัวเรื่องวันที่เพิ่มข้อมูลประเภททรัพยากร

บัญชีของฉัน

เข้าสู่ระบบ

Design Thinking Approach: Communication for SustainableFashion as the New Normal in Thailand

การสื่อสารแฟชั่นยั่งยืนให้เป็นบรรทัดฐานใหม่ในประเทศไทยผ่านการใช้กระบวนการคิดเชิงออกแบบ

by Chavisa Cheyjunya; ชวิศา เชยจรรยา; Wichian Lattipongpun; วิเชียร ลัทธิพงศ์พันธ์

ชื่อเรื่อง:

Design Thinking Approach: Communication for SustainableFashion as the New Normal in Thailand
การสื่อสารแฟชั่นยั่งยืนให้เป็นบรรทัดฐานใหม่ในประเทศไทยผ่านการใช้กระบวนการคิดเชิงออกแบบ

ผู้ควบคุมงานวิจัย:

Wichian Lattipongpun
วิเชียร ลัทธิพงศ์พันธ์

วันที่เผยแพร่:

NaN2021

หน่วยงานที่เผยแพร่:

National Institute of Development Administration

บทคัดย่อ/เนื้อเรื่องย่อ:

The purpose of this research is to examine the sustainable fashion ecosystem from global context and from Thai aspect in order to communicate and embed sustainable fashion practices as the new normal in Thailand through Design Thinking. The mixed method is employed. According to the exploratory sequential design process, the research is divided in to three phases; systematic literature review, followed by a quantitative research through an online survey and a qualitative approach through in-depth interview. The finding indicates that 1) fashion ecosystem from global context includes stakeholders from upstream to downstream that work accordingly to further sustainable fashion practices by implementing manufacturing, design, communication, consumption and post-consumption process. 2) Fashion ecosystem from Thai context consists of person or individual who initiates sustainable fashion practice and introduces to Thai fashion system. The practices require an approval from consumer, policy maker, media and retails store in order to be accepted as a part of Thai social system. 3) Communication messages include news and information toward sustainable fashion implication, economic values and branding. In addition, this study offers a communication prototype as a solution model to effectively achieve sustainable goals in Thai fashion industry.
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบและระบบนิเวศแฟชั่นยั่งยืนในบริบทสากลและในบริบทของประเทศไทย รวมถึงศึกษาการรณรงค์ปลูกฝังวิถีแฟชั่นยั่งยืนให้เป็นบรรทัดฐานใหม่ในวิถีแฟชั่นไทยผ่านกระบวนการคิดเชิงออกแบบ โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method) แบบ Exploratory Sequential Design และแบ่งการศึกษาออกเป็นสามระยะ คือการสังเคราะห์งานวิจัย การสำรวจความคิดเห็นจากกลุ่มตัวอย่าง และการสัมภาษณ์เชิงลึกกับกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในอุตสาหกรรมแฟชั่นไทย ผลการวิจัยพบว่า 1) องค์ประกอบและระบบนิเวศแฟชั่นยั่งยืนในบริบทสากลนั้นประกอบไปด้วย ผู้มีส่วนได้ส่วนได้เสียที่มีบทบาทในการขับเคลื่อนวิถีแฟชั่นยั่งยืนตั้งแต่ต้นน้ำไปจนถึงปลายน้ำ ผ่านกระบวนการในการผลิต การออกแบบ การสื่อสาร การบริโภคไปจนถึงกระบวนการหลังการบริโภคซึ่งล้วนเป็นองค์ประกอบของระบบนิเวศแฟชั่นยั่งยืน 2) องค์ประกอบและระบบนิเวศการสื่อสารแฟชั่นยั่งยืนในประเทศไทย ประกอบไปด้วยผู้ริเริ่มนำเสนอแนวคิดความยั่งยืนเข้าสู่ระบบแฟชั่นไทย โดยมี ผู้ผลิต และนักรณรงค์ทำหน้าที่ริเริ่มผลักดันให้เกิดวิถีแฟชั่นยั่งยืน ผ่านการตัดสินใจยอมรับแนวคิดดังกล่าวจาก ผู้บริโภค ภาครัฐ สื่อ และกลุ่มห้างสรรพสินค้า ที่ทำหน้าที่คัดกรองแนวคิดและวิถีแฟชั่นยั่งยืนให้เป็นส่วนหนึ่งของวิถีแฟชั่นไทย 3) ข้อเสนอแนะแนวในทางปฏิบัติสำหรับการสื่อสารรณรงค์เพื่อขับเคลื่อนวิถีแฟชั่นยั่งยืนในประเทศไทย ซึ่งประกอบไปด้วย การสื่อสารให้เกิดความรู้ความเข้าใจ การสื่อสารคุณค่าทางเศรษฐกิจ และการสื่อสารตราสินค้าแฟชั่นยั่งยืน นอกจากนี้ยังนำเสนอแบบจำลองการสื่อสารเพื่อบรรลุเป้าหมายความยั่งยืนในอุตสาหกรรมแฟชั่นไทย

ชนิดของสื่อ:

Text

ภาษา:

tha

URI:

https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5662
แสดงระเบียนรายการแบบเต็ม

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้ (CONTENT)

Thumbnail
ดู
  • 6121811019.pdf ( 2,992.31 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • Dissertations, Theses, Term Papers [242]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×