ความผูกพันของนักศึกษาปริญญาโท ภาคปกติ ที่มีต่อสถาบันการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา
Files
Publisher
Issued Date
2015
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
90 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b191868
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
สิริธิดา เสาหงษ์ (2015). ความผูกพันของนักศึกษาปริญญาโท ภาคปกติ ที่มีต่อสถาบันการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5671.
Title
ความผูกพันของนักศึกษาปริญญาโท ภาคปกติ ที่มีต่อสถาบันการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา
Alternative Title(s)
Engagement towards educational institution of graduate students
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การศึกษาคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) ศึกษามิติของความผูกพันที่มีต่อสถาบันการศึกษา ของนักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา 2) เพื่อวิเคราะห์ความพึงพอใจในปัจจัยขับเคลื่อนความผูกพันที่ มีต่อสถาบันการศึกษาในระดับ บัณฑิตศึกษา 3) เพื่อศึกษาอิทธิพลของความพึงพอใจในปัจจัย ขับเคลื่อนความผูกพันที่มีต่อความผูกพันที่มีต่อสถาบันการศึกษาโดยเก็บรวบรวมขอ้มูลเชิงปริมาณ จากนักศึกษาปริญญาโทภาคปกติ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ซึ่งศึกษามาแล้วอย่างน้อย 1 ภาคการศึกษา จำนวน 300คน โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอย ผลการศึกษาพบว่า ระดับความผูกพันต่อสถาบันของนักศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ด้าน คือ ด้านความ ศรัทธา และด้านความทุ่มเทและจงรักภักดีซึ่งโดยรวมนักศึกษามีความคิดเห็นอยู่ในระดับ เชิงบวก และพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ความผูกพันต่อสถาบันด้านความศรัทธา มีความผูกพันอยู่ในระดับดีกว่าความผูกพันต่อสถาบันด้านความทุ่มเทและจงรักภักดีระดับความพึงพอใจ โดยรวมนักศึกษามี ความคิดเห็นอยู่ในเชิงบวก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ปัจจัยขับ เคลื่อนความผูกพันด้าน เพื่อนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับ สูงสุด รองลงมาคือด้านการเรียนการสอน ด้านการบริหารจัดการ และด้านอาคารสถานที่นักศึกษามีความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อยที่สุด และอิทธิพลของความพึง พอใจในปัจจัยขับเคลื่อนความผูกพันที่มีต่อความผูกพันที่มีต่อสถาบนัการศึกษา พบว่า ความพึงพอใจในปัจจัยขับเคลื่อนความผูกพันด้านเพื่อน ด้านการเรียนการสอน ด้านการบริหารจัดการ และ ด้านอาคารสถานที่ มีอิทธิพลอย่างมากต่อความผูกพันที่มีต่อสถาบันการศึกษา อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (วทม. (สถิติประยุกต์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558