• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะสถิติประยุกต์
  • GSAS: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะสถิติประยุกต์
  • GSAS: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

การพัฒนาตัวแบบความยืดหยุ่นของโซ่อุปทานสินค้าเกษตร กรณีศึกษา มันสำปะหลังในประเทศไทย

by ปารียา ศิริวัฒนพันธ์

Title:

การพัฒนาตัวแบบความยืดหยุ่นของโซ่อุปทานสินค้าเกษตร กรณีศึกษา มันสำปะหลังในประเทศไทย

Other title(s):

Modeling agricultural supply chain flexibility : a case study of cassava in Thailand

Author(s):

ปารียา ศิริวัฒนพันธ์

Advisor:

สราวุธ จันทร์สุวรรณ

Degree name:

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

Master's

Degree discipline:

การจัดการโลจิสติกส์

Degree department:

คณะสถิติประยุกต์

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2016

Digital Object Identifier (DOI):

10.14457/NIDA.the.2016.151

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

ยุทธศาสตร์สำคัญ ประการหนึ่งของภาครัฐคือการเพิ่มขีดความสามารถในการบริหาร จัดการระบบโลจิสติกส์และโซ่อุปทานสินค้าเกษตรตั้งแต่ต้นน้ำจนถึงผู้บริโภคโดยมุ่งเน้นการ บริหารจัดการโลจิสติกส์ให้มีประสิทธิภาพและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้สูงขึ้น ตัวชี้วัดประสิทธิภาพตามแผนยุทธศาสตร์ที่ผ่านมาพิจารณาเพียงเรื่องของต้นทุน (Cost) เวลา (Lead Time) และความน่าเชื่อถือ (Reliability) แต่ตัวชี้วัดที่สำคัญอีกตัวหนึ่งคือ ความยืดหยุ่นของโซ่ อุปทาน ซึ่งแสดงถึงความสามารถที่ระบบสามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์อันเป็นผลมา จากการเปลี่ยนแปลงของราคาและนโยบายการสนับสนุนของภาครัฐยังไม่ได้กล่าวถึงมากนักใน ระบบโซ่อุปทานสินค้าเกษตร บทความนี้จึงได้พัฒนาตัวแบบทางคณิตศาสตร์ขึ้นมาเพื่อใช้วัดความยืดหยุ่นของโซ่อุปทาน (Supply Chain Flexibility) โดยนำมาประยุกต์ใช้กับกรณีศึกษามันสำปะหลัง ซึ่งเป็นพืชยุทธศาสตร์ที่สำคัญของประเทศ ซึ่งการพัฒนาตัวแบบพิจารณาตั้งแต่ส่วนการเพาะปลูก โดยเกษตรกร การแปรรูปจากมันสำปะหลังสดเป็นแป้งมันสำปะหลัง และการขนส่งไปยังท่าเรือ เพื่อการส่งออกโดยตัวแบบที่สร้างขึ้นแบ่งออกเป็น 2 ตัวแบบคือ ตัวแบบ Deterministic และตัวแบบ Stochastic ซึ่งในแต่ละตัวแบบจะแบ่งออกเป็น 2 ขั้น โดยขั้นที่1 เป็นตัวแบบสำหรับการหาความสามารถพื้นฐานของโซ่อุปทานที่ทำให้เกิดผลกำไรสูงที่สุด และขั้นที่2 เป็นตัวแบบที่ใช้ ประเมินค่าความยืดหยุ่น ของโซ่อุปทานที่สามารถเพิ่มได้สูงที่สุดจากความสามารถพื้นฐานที่ได้จาก ขั้นที่1 ซึ่งค่าที่ได้จะเป็นความสามารถสำรอง (Reserve Capacity) ของระบบโซ่อุปทาน ทั้งนี้ตัว แบบสามารถเป็นแนวทางให้กับผู้ที่เกี่ยวข้องในการกำหนดนโยบายเพื่อเพิ่มศักยภาพของโซ่อุปทาน รวมถึงระบุจุดคอขวดของระบบเพื่อให้รองรับกับการเปลี่ยนแปลงอุปทานและอุปสงค์ในอนาคตได้ อย่างมีประสิทธิภาพ

Description:

วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการโลจิสติกส์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559

Subject(s):

สินค้าเกษตร
การบริหารงานโลจิสติกส์
มันสำปะหลัง

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

116 แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5674
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • b192970.pdf ( 4,688.43 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSAS: Theses [219]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×