The development of structural equation model of communication of network affiliates for promoting the elderly's well-being by digital technology
Files
Issued Date
2021
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
373 leaves
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
b212771
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
Rights Holder(s)
Physical Location
National Institute of Development Administration. Library and Information Center
Bibliographic Citation
Citation
Thunyawan Kaeochada (2021). The development of structural equation model of communication of network affiliates for promoting the elderly's well-being by digital technology. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5706.
Title
The development of structural equation model of communication of network affiliates for promoting the elderly's well-being by digital technology
Alternative Title(s)
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
The research is aimed to study the communication process of the network affiliates in applying digital technologies for enhancing the elderly’s well-being, explore factors that influenced the elderly's well-being behaviors by the use of digital technologies, and develop a structural equation model of factors influencing the enhancement of the elderly’s well-being behaviors by the use of digital technologies.
The study is mixed-method research, comprising both qualitative and quantitative research. For qualitative research, data were collected from the documentary, online media, and personal sources through in-depth interviews with 4 groups of the network affiliates members, namely the Digital Economy Promotion Agency, the Department of Medical Services, and the Department of the Older Persons), and a group of Health Tech Startups. For the quantitative research, the survey questionnaires, with an alpha coefficient of 0.942 from the reliability test, were collected from 200 elderly people in Bangkok and analyzed with SEM statistics for developing a structural equation model that is congruent with the empirical data.
From the qualitative research, it was found that 1) the patterns of the collaborative network reflect the evolution of the network from the beginning of the establishment to the completion of the operation or operational state. The key mechanisms in every step of the operations are the awareness of operational system planning, the determination of roles and duties of the network members, and the communication system creation. 2) From analyzing a network and public communication process, it was found that the network affiliates planned the strategies related to senders, message, and channel, all of which are key communication factors in driving the elderly towards cognitive, attitudinal, and behavioral changes in using digital technology for health care. However, from the interview with the elderly, it was found that the network affiliates had some restrictions in public relations as it could not create the elderly's perception of the use of digital technology for health care, covering all areas. 3) Guidelines for effective communication of the network affiliates emphasize the following development of the four main communication elements: 3.1) Sender: public relations skills, 3.2) message: the use of logical appeal strategy, 3.3) channels/media: the analysis of receivers’ media exposure potential, and 3.4) receivers: the target analysis for determining content and channels/media responding to receivers’ interest, satisfaction, and needs.
For the quantitative research, all four main communication elements were synthesized for determining characteristics or attributes of communication factors as indicators for testing the congruence of the developed structural equation model with the empirical data. The findings show that the developed structural equation model of the factors influencing the elderly’s well-being behaviors by the use of digital technology is congruent with the empirical data at a statistical significance level of 0.01, based on the following congruence indices: p = 0.06812, /df = 2.18, Critical N = 296.84, RMR = 0.0089, SRMR = 0.018, AGFI = 0.90, GFI = 0.99, NFI = 0.99, NNFI = 0.98, CFI = 1.00, IFI = 1.00, and RFI = 0.96, all of these 12 from 13 indices pass the determined criteria. Furthermore, it is found that variables that have a positive direct effect on attitude towards the use of digital technology are the influence of reference groups, perceived benefits, and perceived compatibility. Besides, these three variables also have a positive indirect effect on the elderly’s well-being behaviors via attitude towards the use of digital technology. Moreover, attitude towards the use of digital technology has a positive direct effect on the elderly’s well-being behaviors.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษากระบวนการสื่อสารของภาคีเครือข่ายฯ ในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะให้แก่ผู้สูงอายุ 2) เพื่อค้นหาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมด้านสุขภาวะของผู้สูงอายุจากการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล และ 3) เพื่อพัฒนาโมเดลสมการเชิงโครงสร้างของปัจจัยที่ส่งผลต่อการสร้างเสริมพฤติกรรมด้านสุขภาวะของผู้สูงอายุจากการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Method) ประกอบด้วยการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก รวม 4 กลุ่ม ซึ่งเป็นสมาชิกภายในภาคีเครือข่าย ได้แก่ สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล กรมการแพทย์ กรมกิจการผู้สูงอายุ และผู้ประกอบการรายใหม่ด้านสุขภาพหรือเฮลท์เทคสตาร์ทอัพ ในส่วนชองการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ ศึกษากับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร จำนวน 200 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามที่มีค่าความเชื่อมั่น (Alpha Coefficient) เท่ากับ 0.942 และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยเทคนิคสถิติ SEM เพื่อพัฒนาโมเดลสมการเชิงโครงสร้างที่มีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า 1) รูปแบบของเครือข่ายความร่วมมือ สะท้อนมิติของพัฒนาการของเครือข่ายความร่วมมือตั้งแต่ระยะก่อตั้ง จนถึงระยะที่เกิดผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงานหรือระยะปฏิบัติการ ซึ่งหัวใจสำคัญของการดำเนินงานในทุกขั้นตอน คือ การตระหนักในการวางแผนระบบงาน การกำหนดบทบาทหน้าที่และการสร้างระบบการสื่อสาร 2) กระบวนการสื่อสารภายในและการสื่อสารสู่สาธารณะของภาคีเครือข่าย พบว่า ภาคีเครือข่ายมีการวางแผนกลยุทธ์ด้านผู้ส่งสาร เนื้อหาสาร และช่องทางการสื่อสาร ทั้ง 3 ด้านเป็นปัจจัยการสื่อสารที่สำคัญในการผลักดันให้ผู้สูงอายุเกิดการเปลี่ยนแปลงด้านความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อดูแลสุขภาพ แต่จากการสัมภาษณ์ผู้สูงอายุ พบว่า ภาคีเครือข่ายยังมีข้อจำกัดด้านการสื่อสารประชาสัมพันธ์ที่ยังไม่สามารถสร้างการรับรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อประโยชน์ในการดูแลสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุให้ครอบคลุมในทุกพื้นที่ได้ 3) การพัฒนาแนวทางการสื่อสารที่เหมาะสมของภาคีเครือข่ายตามหลักองค์ประกอบการสื่อสาร 4 ด้าน 3.1) ด้านผู้ส่งสาร พัฒนาทักษะการสื่อสารประชาสัมพันธ์ 3.2) ด้านเนื้อหาสาร พัฒนากลยุทธ์การนำเสนอสารเชิงเหตุผลและอารมณ์ 3.3) ด้านช่องทางการสื่อสาร วิเคราะห์ศักยภาพการเปิดรับสื่อของผู้รับสาร และ 3.4) ด้านผู้รับสาร วิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย เพื่อกำหนดเนื้อหาและช่องทางการสื่อสารได้ตรงกับความสนใจ ความพอใจ และความต้องการของผู้รับสาร ส่วนผลการวิจัยเชิงปริมาณ ผู้วิจัยได้สังเคราะห์ปัจจัยด้านองค์ประกอบของการสื่อสารทั้ง 4 ประการ เพื่อนำมากำหนดคุณลักษณะของปัจจัยการสื่อสารสำหรับเป็นตัวชี้วัดเพื่อประกอบการเก็บรวบรวมข้อมูลและเพื่อทดสอบหาความสอดคล้องเชื่อมโยงกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ผลการวิจัยพบว่า โมเดลสมการเชิงโครงสร้างของปัจจัยที่ส่งผลต่อการสร้างเสริมพฤติกรรมด้านสุขภาวะของผู้สูงอายุจากการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล มีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยพิจารณาจากค่าดัชนีความกลมกลืน ได้แก่ p = 0.06812, /df = 2.18, Critical N = 296.84, RMR = 0.0089, SRMR = 0.018, AGFI = 0.90, GFI = 0.99, NFI = 0.99, NNFI = 0.98, CFI = 1.00, IFI = 1.00 และ RFI = 0.96 ซึ่งผ่านเกณฑ์ที่กำหนดทั้งสิ้น 12 ค่าดัชนี จากทั้งหมด 13 ค่าดัชนี และพบว่า ตัวแปรที่มีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อพฤติกรรมด้านสุขภาวะของผู้สูงอายุ คือ อิทธิพลกลุ่มอ้างอิง การรับรู้ถึงประโยชน์ และการรับรู้ความเข้ากันได้ นอกจากนี้ตัวแปรทั้ง 3 ยังมีอิทธิพลทางอ้อมเชิงบวกต่อพฤติกรรมด้านสุขภาวะของผู้สูงอายุ โดยผ่านทัศนคติที่มีต่อการใช้งานเทคโนโลยีดิจิทัล ส่วนตัวแปรทัศนคติที่มีต่อการใช้งานเทคโนโลยีดิจิทัล พบว่า มีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อพฤติกรรมด้านสุขภาวะของผู้สูงอายุ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษากระบวนการสื่อสารของภาคีเครือข่ายฯ ในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะให้แก่ผู้สูงอายุ 2) เพื่อค้นหาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมด้านสุขภาวะของผู้สูงอายุจากการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล และ 3) เพื่อพัฒนาโมเดลสมการเชิงโครงสร้างของปัจจัยที่ส่งผลต่อการสร้างเสริมพฤติกรรมด้านสุขภาวะของผู้สูงอายุจากการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Method) ประกอบด้วยการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก รวม 4 กลุ่ม ซึ่งเป็นสมาชิกภายในภาคีเครือข่าย ได้แก่ สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล กรมการแพทย์ กรมกิจการผู้สูงอายุ และผู้ประกอบการรายใหม่ด้านสุขภาพหรือเฮลท์เทคสตาร์ทอัพ ในส่วนชองการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ ศึกษากับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร จำนวน 200 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามที่มีค่าความเชื่อมั่น (Alpha Coefficient) เท่ากับ 0.942 และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยเทคนิคสถิติ SEM เพื่อพัฒนาโมเดลสมการเชิงโครงสร้างที่มีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า 1) รูปแบบของเครือข่ายความร่วมมือ สะท้อนมิติของพัฒนาการของเครือข่ายความร่วมมือตั้งแต่ระยะก่อตั้ง จนถึงระยะที่เกิดผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงานหรือระยะปฏิบัติการ ซึ่งหัวใจสำคัญของการดำเนินงานในทุกขั้นตอน คือ การตระหนักในการวางแผนระบบงาน การกำหนดบทบาทหน้าที่และการสร้างระบบการสื่อสาร 2) กระบวนการสื่อสารภายในและการสื่อสารสู่สาธารณะของภาคีเครือข่าย พบว่า ภาคีเครือข่ายมีการวางแผนกลยุทธ์ด้านผู้ส่งสาร เนื้อหาสาร และช่องทางการสื่อสาร ทั้ง 3 ด้านเป็นปัจจัยการสื่อสารที่สำคัญในการผลักดันให้ผู้สูงอายุเกิดการเปลี่ยนแปลงด้านความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อดูแลสุขภาพ แต่จากการสัมภาษณ์ผู้สูงอายุ พบว่า ภาคีเครือข่ายยังมีข้อจำกัดด้านการสื่อสารประชาสัมพันธ์ที่ยังไม่สามารถสร้างการรับรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อประโยชน์ในการดูแลสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุให้ครอบคลุมในทุกพื้นที่ได้ 3) การพัฒนาแนวทางการสื่อสารที่เหมาะสมของภาคีเครือข่ายตามหลักองค์ประกอบการสื่อสาร 4 ด้าน 3.1) ด้านผู้ส่งสาร พัฒนาทักษะการสื่อสารประชาสัมพันธ์ 3.2) ด้านเนื้อหาสาร พัฒนากลยุทธ์การนำเสนอสารเชิงเหตุผลและอารมณ์ 3.3) ด้านช่องทางการสื่อสาร วิเคราะห์ศักยภาพการเปิดรับสื่อของผู้รับสาร และ 3.4) ด้านผู้รับสาร วิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย เพื่อกำหนดเนื้อหาและช่องทางการสื่อสารได้ตรงกับความสนใจ ความพอใจ และความต้องการของผู้รับสาร ส่วนผลการวิจัยเชิงปริมาณ ผู้วิจัยได้สังเคราะห์ปัจจัยด้านองค์ประกอบของการสื่อสารทั้ง 4 ประการ เพื่อนำมากำหนดคุณลักษณะของปัจจัยการสื่อสารสำหรับเป็นตัวชี้วัดเพื่อประกอบการเก็บรวบรวมข้อมูลและเพื่อทดสอบหาความสอดคล้องเชื่อมโยงกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ผลการวิจัยพบว่า โมเดลสมการเชิงโครงสร้างของปัจจัยที่ส่งผลต่อการสร้างเสริมพฤติกรรมด้านสุขภาวะของผู้สูงอายุจากการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล มีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยพิจารณาจากค่าดัชนีความกลมกลืน ได้แก่ p = 0.06812, /df = 2.18, Critical N = 296.84, RMR = 0.0089, SRMR = 0.018, AGFI = 0.90, GFI = 0.99, NFI = 0.99, NNFI = 0.98, CFI = 1.00, IFI = 1.00 และ RFI = 0.96 ซึ่งผ่านเกณฑ์ที่กำหนดทั้งสิ้น 12 ค่าดัชนี จากทั้งหมด 13 ค่าดัชนี และพบว่า ตัวแปรที่มีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อพฤติกรรมด้านสุขภาวะของผู้สูงอายุ คือ อิทธิพลกลุ่มอ้างอิง การรับรู้ถึงประโยชน์ และการรับรู้ความเข้ากันได้ นอกจากนี้ตัวแปรทั้ง 3 ยังมีอิทธิพลทางอ้อมเชิงบวกต่อพฤติกรรมด้านสุขภาวะของผู้สูงอายุ โดยผ่านทัศนคติที่มีต่อการใช้งานเทคโนโลยีดิจิทัล ส่วนตัวแปรทัศนคติที่มีต่อการใช้งานเทคโนโลยีดิจิทัล พบว่า มีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อพฤติกรรมด้านสุขภาวะของผู้สูงอายุ
Table of contents
Description
Thesis (Ph.D. (Communication Arts and Innovation))--National Institute of Development Administration, 2021