Show simple item record

dc.contributor.advisorเกศรา สุกเพชรth
dc.contributor.authorณัฐชัย บูรณะวิมลวรรณth
dc.date.accessioned2022-05-09T08:47:42Z
dc.date.available2022-05-09T08:47:42Z
dc.date.issued2016th
dc.identifier.otherb197581th
dc.identifier.urihttps://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5760th
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การจัดการการท่องเที่ยวแบบบูรณาการ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559th
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาบริบทโลจิสติกส์การท่องเที่ยวในเส้นทาง ตาก-แม่สอด เพื่อรองรับการดำเนินการเขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด 2) เพื่อศึกษาขีดความสามารถด้าน โลจิสติกส์การท่องเที่ยวในเส้นทาง ตาก-แม่สอด เพื่อรองรับการดำเนินการเขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด 3) เพื่อเสนอแนวทางพัฒนาขีดความสามารถด้านโลจิสติกส์การท่องเที่ยวในเส้นทางตาก-แม่สอด เพื่อรองรับการดำเนินการเขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ใช้การดำเนินการวิจัยแบบเชิงปริมาณ (Quantitative Research) เก็บรวบรวมข้อมูลในแบบสำรวจและแบบสอบถาม โดนแบบสอบถามมีค่าความเชื่อมมั่น (Reliability) = 0.8 โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัย คือ แหล่งท่องเที่ยวในเส้นทางตาก-แม่สอด และ นักท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวในเส้นทางตาก-แม่สอด จำนวน 400 คน วิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ค่าร้อยละ ค่าความถี่ และสถิติเชิงอนุมาน t-test และ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (F-test หรือ One-way Analysis of Variance) และหากพบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 จะทำการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ โดยจะใช้วิธี LSD ในการหาค่าความแตกต่างของแต่ละคู่ระดับความพึงพอใจของแต่ละด้าน ใช้การวิเคราะห์การถดถอย (Regression Analysis) ในการวิเคราะห์หาค่าและทดสอบความสัมพันธ์ระหว่าง 2 ตัวแปร จากนั้นถึงนำเสนอในเชิงพรรณนา เพื่อเสนอแนวทางพัฒนาขีดความสามารถด้านโลจิสติกส์การท่องเที่ยวในเส้นทางตาก-แม่สอด เพื่อรองรับการดำเนินการเขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด ผลการศึกษาวิจัยครั้งนี้พบว่า 1) เส้นทางตาก-แม่สอด ตั้งแต่สามแยกแม่สอดถึงสะพานมิตรภาพไทย-พม่า มีระยะทางทั้งสิ้น 89.2 กิโลเมตร มีแหล่งท่องเที่ยวจ านวน 9 สถานที่ คือ อุทยานแห่งชาติลานสาง อุทยานแหงชาติตากสินมหาราช ตลาดสินค้าพื้นเมืองชาวดอยมูเซอ ศาลเจ้าพ่อพะวอth
dc.description.provenanceSubmitted by Kwanruthai Kaewjampa (kwanruthai.k@nida.ac.th) on 2022-05-09T08:47:42Z No. of bitstreams: 1 b197581.pdf: 7482535 bytes, checksum: 33dd313638edbd12d556a137c518fd0d (MD5)th
dc.description.provenanceMade available in DSpace on 2022-05-09T08:47:42Z (GMT). No. of bitstreams: 1 b197581.pdf: 7482535 bytes, checksum: 33dd313638edbd12d556a137c518fd0d (MD5) Previous issue date: 2016th
dc.format.extent154 แผ่นth
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)th
dc.subjectการพัฒนาการท่องเที่ยวth
dc.subjectเขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอดth
dc.subject.otherการท่องเที่ยวth
dc.subject.otherเขตเศรษฐกิจ -- ไทย -- ตากth
dc.subject.otherการท่องเที่ยว -- แง่เศรษฐกิจth
dc.subject.otherการท่องเที่ยว -- ไทย -- ตาก -- แม่สอดth
dc.titleแนวทางการพัฒนาขีดความสามารถด้านโลจิสติกส์การท่องเที่ยว เส้นทางตาก–แม่สอด เพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอดth
dc.title.alternativeThe methods to develop capabilities of tourisms logistics on Tak-Mae Sot route to support Mae Sot Special Economic Zoneth
dc.typeTextth
mods.genreวิทยานิพนธ์th
mods.physicalLocationสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนาth
thesis.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth
thesis.degree.levelMaster'sth
thesis.degree.disciplineการจัดการการท่องเที่ยวแบบบูรณาการth
thesis.degree.grantorสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
thesis.degree.departmentคณะการจัดการการท่องเที่ยวth


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record