• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะสถิติประยุกต์
  • GSAS: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะสถิติประยุกต์
  • GSAS: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

การจัดสรรการขนส่งน้ำมันดีเซล: กรณีศึกษา บริษัทน้ำมันแห่งหนึ่ง

by ณัฐวุฒิ อัศวมาชัย

Title:

การจัดสรรการขนส่งน้ำมันดีเซล: กรณีศึกษา บริษัทน้ำมันแห่งหนึ่ง

Other title(s):

Diesel Transportation Allocation: A Petroleum Company Case Study

Author(s):

ณัฐวุฒิ อัศวมาชัย

Advisor:

กาญจ์นภา อมรัชกุล

Degree name:

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

Master's

Degree discipline:

การจัดการโลจิสติกส์

Degree department:

คณะสถิติประยุกต์

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2017

Publisher:

สถาบันบัณพิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

งานวิจัยนี นำเสนอตัวแบบทางคณิตศาสตร์ส้าหรับเป็นแนวทางในการเลือกช่องทางในการขนส่ง น้ำมันไปยังสถานีน้ำมันในพื้นที่ภาคเหนือ 5 สถานีโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดต้นทุนการขนส่งที่ ประกอบด้วย ค่าขนส่ง ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (ในรูปของ Carbon tax) และเวลา (ในรูปของ Value of Time) ให้น้อยที่สุด แต่ยังคงต้องตอบสนองต่อความต้องการที่เพียงพอในแต่ละสถานีในงานวิจัยนี เลือกช่องทางการขนส่ง 2 ช่องทางคือ ทางรถบรรทุก และทางรถไฟ และยังคงมีปัจจัยเพิ่มเติมจากช่อง ทางการขนส่งดังกล่าวมากมาย เช่น ชนิดของพาหนะ ความเร็วในการขับขี่ ฯลฯ แต่ในบทความนี จะ พิจารณา 2 ปัจจัยหลักคือ น้ำหนักที่ใช้ในการบรรทุก และระยะทางที่ขนส่ง โดยการน้ามาประยุกต์ใช้กับ ตัวแบบโปรแกรมการเฟ้นสุ่มเชิงเส้นแบบสองชั้น (Two-Stage Stochastic Linear Program) โดยแบ่ง ข้อมูลปริมาณความต้องการในอดีตเป็นสองส่วน ส่วนแรกน้ำไปหาปริมาณแคร่ที่ต้องเช่าต่อปีและส่วนที่ สองน้าไปจัดสรรการขนส่งรวมถึงการทดสอบนโยบายใหม่ ผลจากตัวแบบพบว่านโยบายใหม่ท้าให้มี ต้นทุนรวมลดได้ถึง 15.43% จากนโยบายเดิมซึ่งมีต้นทุนรวมอยู่ที่ 244,559,446 บาท คงเหลือต้นทุน รวมเป็น 206,814,906 บาท

Subject(s):

การขนส่ง -- น้ำมัน

Keyword(s):

การขนส่ง -- การจัดการ

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

72 หน้า

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ลิขสิทธิ์ของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

URI:

https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5791
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • b201144.pdf ( 1,666.96 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSAS: Theses [203]
Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Education Service Center | สำนักบริการการศึกษาและบรรณสาร
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Education Service Center | สำนักบริการการศึกษาและบรรณสาร
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×