Show simple item record

dc.contributor.advisorพัทรียา หลักเพ็ชรth
dc.contributor.authorชนินทร์ ศรีวิสุทธิ์th
dc.date.accessioned2022-05-25T05:23:13Z
dc.date.available2022-05-25T05:23:13Z
dc.date.issued2017th
dc.identifier.otherb201082th
dc.identifier.urihttps://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5826th
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การจัดการการท่องเที่ยวแบบบูรณาการ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2560th
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) เพื่อศึกษาบริบทการดำเนินการตามข้อตกลงร่วมว่า ด้วยการยอมรับคุณสมบัติบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวอาเซียน 2) เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ และประเด็นช่องว่างในการขับเคลื่อนนโยบายการดำเนินงานตามข้อตกลงร่วมว่าด้วยการยอมรับ คุณสมบัติบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวอาเซียนของประเทศไทยและประเทศสมาชิกอาเซียน 3) เพื่อศึกษาแนวทางในการขับเคลื่อนนโยบายการดำเนินงานตามข้อตกลงร่วมว่าด้วยการยอมรับ คุณสมบัติบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวอาเซียน โดยใช้แนวคิดหลักด้านการติดตามและ ประเมินผล การวิเคราะห์เปรียบเทียบ (Benchmarking)และทฤษฎีการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ การวิจัยนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารและ การสัมภาษณ์เชิงลึกกับ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในประเทศไทย และผู้แทนจากองค์กรการท่องเที่ยว แห่งชาติของประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ซึ่งคัดเลือกกลุ่มตวัอย่างแบบเจาะจงจำนวน ทั้งสิ้น 54คนth
dc.description.abstractผลการศึกษา พบว่า ประเทศสมาชิกอาเซียนมีการนำนโยบายตามข้อตกลงร่วมว่าด้วยการยอมรับคุณสมบัติบุคลากรวิชาชีพการท่องเที่ยวในระดับอาเซียนไปสู่การปฏิบัติในระดับประเทศที่แตกต่างกันส่งผลใหเ้กิดช่องว่างในการดำเนินงานขึ้นโดยมีสาเหตุมาจากบริบทภูมิหลังของแต่ละ ประเทศที่แตกต่างกันส่งผลให้มีทิศทางการดำเนินงานในประเด็นต่างๆ ที่ไม่เหมือนกัน โดยเฉพาะ สิงคโปร์และบรูไนที่ให้ความสำคัญในการดำเนินงานตามข้อตกลงดังกล่าวน้อยที่สุด ทั้งนี้พบว่า กัมพูชาและอินโดนีเซียเป็นประเทศที่มีการดำเนินงานตามข้อตกลงได้อย่างมีประสิทธิภาพและมี ความก้าวหน้ามาก เนื่องมาจากการให้ความสำคัญกับภาคีเครือข่าย การวางแผนงานตามth
dc.description.abstractหลักการ PDCA ตลอดจนการบริหารจัดการความรู้ที่ส่งเสริมให้มีศูนย์แห่งความเป็นเลิศขึ้นเพื่อเป็นแกนกลางในการแลกเปลี่ยนแนวปฏิบัติที่ดีth
dc.description.abstractแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายตามกรอบข้อตกลงร่วมว่าด้วยการยอมรับคุณสมบัติ บุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวอาเซียนของประเทศไทย จึงตั้งอยู่บนพื้นฐานของแนวคิด วงจรPDCA และการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติในการพฒันากระบวนการทำงาน ซึ่งสามารถวาง แนวทางการดำเนินงานได้จากความร่วมมือของสามภาคีหลัก ได้แก่ หน่วยงานภาครัฐ สมาคม วิชาชีพการท่องเที่ยวและสถาบนัการศึกษา ซึ่งแนวทางดังกล่าวจะเป็นการบูรณาการการทำงานให้ บรรลุผลและทัดเทียมกับประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นได้โดยผ่านการขับเคลื่อนนโยบาย ใน 3 ประการ ได้แก่1) การเป็นแกนกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์การพัฒนา บุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวอาเซียน 2) การพัฒนาระบบและกลไกสนับสนุนการพัฒนาสมรรถนะ บุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยว ระดับ อาเซียน และ 3) การพัฒนาหน่วยงานคลังสมองด้านการพัฒนา บุคลากรท่องเที่ยวth
dc.description.provenanceSubmitted by Chitjai Singhapong (chitjai.s@nida.ac.th) on 2022-05-25T05:23:13Z No. of bitstreams: 1 b201082.pdf: 5627044 bytes, checksum: bee3bf5b3e57976b215557470234137d (MD5)th
dc.description.provenanceMade available in DSpace on 2022-05-25T05:23:13Z (GMT). No. of bitstreams: 1 b201082.pdf: 5627044 bytes, checksum: bee3bf5b3e57976b215557470234137d (MD5) Previous issue date: 2017th
dc.format.extent246 แผ่นth
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันบัณพิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)th
dc.subject.otherบุคลากรวิชาชีพ -- การท่องเที่ยวth
dc.subject.otherการท่องเที่ยว -- นโยบายของรัฐth
dc.titleแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายการดำเนินงานตามกรอบข้อตกลงร่วมว่าด้วยการยอมรับคุณสมบัติบุคลากรวิชาชีพการท่องเที่ยวอาเซียน: กรณีศึกษาเปรียบเทียบประเทศไทยกับประเทศสมาชิกอาเซียนth
dc.title.alternativeThe policy implementation guidelines of the ASEAN mutual recognition arrangement on tourism professionals : a comparative case study of Thailand and ASEAN member countriesth
dc.typeTextth
mods.genreวิทยานิพนธ์th
mods.physicalLocationสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนาth
thesis.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth
thesis.degree.levelMaster'sth
thesis.degree.disciplineการจัดการการท่องเที่ยวแบบบูรณาการth
thesis.degree.grantorสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
thesis.degree.departmentคณะการจัดการการท่องเที่ยวth


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record