การจัดการขยะบรรจุภัณฑ์ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี
Files
Publisher
Issued Date
2017
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
192 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
b201088
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
อาหาหมัด มะดีเย๊า (2017). การจัดการขยะบรรจุภัณฑ์ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5832.
Title
การจัดการขยะบรรจุภัณฑ์ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี
Alternative Title(s)
Packaging Waste Management in Pattani Municipality
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การศึกษาเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสถานการณ์การจัดการขยะบรรจุภัณฑ์ในเขต
เทศบาลเมืองปัตตานี 2) ศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการจัดการขยะบรรจุภัณฑ์ของประชาชน
ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี และ 3) หารูปแบบการส่งเสริมในการจัดการขยะบรรจุภัณฑ์ของ
ประชาชนในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ผู้ศึกษาได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม โดยการใช้
แบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างประชาชนจากตำบลละ 2 ชุมชน โดยการสุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการจับ
ฉลากจาก 3 ตำบล ซึ่งได้กำหนดกลุ่มตัวอย่างมีความคลาดเคลื่อนได้ไม่เกินร้อยละ 5 และเลือก
สัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ชุมชนละ 2 คน
ผลการศึกษาพบว่า 1) สภาพพื้นที่เทศบาลเมืองปัตตานี คือ สถานที่ตั้ง ระบบการกำจัด ขยะ ระบบการขนส่งขยะ สถานที่กำจัดขยะ และการบริหารจัดการ เมื่อนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ และตรวจสอบ พบว่า การจัดการขยะของเทศบาลเมืองปัตตานี ได้งบประมาณสนับสนุนเพื่อ ดำเนินการจัดการขยะมูลฝอย และได้ดำเนินโครงการตามวงเงินที่ได้รับ แต่เนื่องด้วยสาเหตุความ ไม่สงบของพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ส่งผลทำให้การดำเนินการล่าช้า และต้องคอยปรับปรุง ระบบกำจัดขยะมูลฝอยเป็นระยะ ๆ 2) ปัจจัยที่มีผลต่อจัดการขยะบรรจุภัณฑ์พบว่า ค่าเฉลี่ย ปัจจัยที่มีผลต่อจัดการขยะบรรจุภัณฑ์โดยรวมอยู่ในระดับน้อย (X = 2.42) โดยประเด็นปัจจัย ที่มีผลต่อจัดการขยะบรรจุภัณฑ์ที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ประเด็นไม่อำนวยความสะดวกในการ จัดการขยะบรรจุภัณฑ์ (X = 2.49) รองลงมา คือ ประเด็นพฤติกรรมในการจัดการขยะ (X = 2.46) และ 3) แนวทางในการจัดการขยะบรรจุภัณฑ์ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี โดยจะเริ่ม ดำเนินการจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและกระจายองค์ความรู้สู่ชุมชน มัสยิด โรงเรียน เพื่อให้เกิด จิตสำนึกต่อสิ่งแวดล้อมรอบตัว สามารถนำไปประยุกต์ใช้เป็นกลยุทธ์ในการส่งเสริมการจัดการขยะ บรรจุภัณฑ์ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี โดยพิจารณาจุดอ่อนที่ต้องได้รับการส่งเสริมมากที่สุด และ ให้ความสำคัญมากที่สุด คือ กลยุทธ์การสร้างความพร้อมของประชาชนด้านการมีส่วนร่วมใน การจัดการขยะในระดับครัวเรือนเพื่อให้ประชาชนทุกคนมีส่วนร่วม และร่วมทำกิจกรรมไป
ด้วยกัน และเกิดการแลกเปลี่ยนความคิดเพื่อการพัฒนาให้เกิดสิ่งที่นำไปสู่การจัดการขยะบรรจุ ภัณฑ์ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น
ผลการศึกษาพบว่า 1) สภาพพื้นที่เทศบาลเมืองปัตตานี คือ สถานที่ตั้ง ระบบการกำจัด ขยะ ระบบการขนส่งขยะ สถานที่กำจัดขยะ และการบริหารจัดการ เมื่อนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ และตรวจสอบ พบว่า การจัดการขยะของเทศบาลเมืองปัตตานี ได้งบประมาณสนับสนุนเพื่อ ดำเนินการจัดการขยะมูลฝอย และได้ดำเนินโครงการตามวงเงินที่ได้รับ แต่เนื่องด้วยสาเหตุความ ไม่สงบของพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ส่งผลทำให้การดำเนินการล่าช้า และต้องคอยปรับปรุง ระบบกำจัดขยะมูลฝอยเป็นระยะ ๆ 2) ปัจจัยที่มีผลต่อจัดการขยะบรรจุภัณฑ์พบว่า ค่าเฉลี่ย ปัจจัยที่มีผลต่อจัดการขยะบรรจุภัณฑ์โดยรวมอยู่ในระดับน้อย (X = 2.42) โดยประเด็นปัจจัย ที่มีผลต่อจัดการขยะบรรจุภัณฑ์ที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ประเด็นไม่อำนวยความสะดวกในการ จัดการขยะบรรจุภัณฑ์ (X = 2.49) รองลงมา คือ ประเด็นพฤติกรรมในการจัดการขยะ (X = 2.46) และ 3) แนวทางในการจัดการขยะบรรจุภัณฑ์ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี โดยจะเริ่ม ดำเนินการจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและกระจายองค์ความรู้สู่ชุมชน มัสยิด โรงเรียน เพื่อให้เกิด จิตสำนึกต่อสิ่งแวดล้อมรอบตัว สามารถนำไปประยุกต์ใช้เป็นกลยุทธ์ในการส่งเสริมการจัดการขยะ บรรจุภัณฑ์ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี โดยพิจารณาจุดอ่อนที่ต้องได้รับการส่งเสริมมากที่สุด และ ให้ความสำคัญมากที่สุด คือ กลยุทธ์การสร้างความพร้อมของประชาชนด้านการมีส่วนร่วมใน การจัดการขยะในระดับครัวเรือนเพื่อให้ประชาชนทุกคนมีส่วนร่วม และร่วมทำกิจกรรมไป
ด้วยกัน และเกิดการแลกเปลี่ยนความคิดเพื่อการพัฒนาให้เกิดสิ่งที่นำไปสู่การจัดการขยะบรรจุ ภัณฑ์ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น