Show simple item record

dc.contributor.advisorวิชชุดา สร้างเอี่ยมth
dc.contributor.authorอาหาหมัด มะดีเย๊าth
dc.date.accessioned2022-05-26T06:37:06Z
dc.date.available2022-05-26T06:37:06Z
dc.date.issued2017th
dc.identifier.otherb201088th
dc.identifier.urihttps://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5832th
dc.description.abstractการศึกษาเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสถานการณ์การจัดการขยะบรรจุภัณฑ์ในเขต เทศบาลเมืองปัตตานี 2) ศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการจัดการขยะบรรจุภัณฑ์ของประชาชน ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี และ 3) หารูปแบบการส่งเสริมในการจัดการขยะบรรจุภัณฑ์ของ ประชาชนในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ผู้ศึกษาได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม โดยการใช้ แบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างประชาชนจากตำบลละ 2 ชุมชน โดยการสุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการจับ ฉลากจาก 3 ตำบล ซึ่งได้กำหนดกลุ่มตัวอย่างมีความคลาดเคลื่อนได้ไม่เกินร้อยละ 5 และเลือก สัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ชุมชนละ 2 คนth
dc.description.abstractผลการศึกษาพบว่า 1) สภาพพื้นที่เทศบาลเมืองปัตตานี คือ สถานที่ตั้ง ระบบการกำจัด ขยะ ระบบการขนส่งขยะ สถานที่กำจัดขยะ และการบริหารจัดการ เมื่อนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ และตรวจสอบ พบว่า การจัดการขยะของเทศบาลเมืองปัตตานี ได้งบประมาณสนับสนุนเพื่อ ดำเนินการจัดการขยะมูลฝอย และได้ดำเนินโครงการตามวงเงินที่ได้รับ แต่เนื่องด้วยสาเหตุความ ไม่สงบของพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ส่งผลทำให้การดำเนินการล่าช้า และต้องคอยปรับปรุง ระบบกำจัดขยะมูลฝอยเป็นระยะ ๆ 2) ปัจจัยที่มีผลต่อจัดการขยะบรรจุภัณฑ์พบว่า ค่าเฉลี่ย ปัจจัยที่มีผลต่อจัดการขยะบรรจุภัณฑ์โดยรวมอยู่ในระดับน้อย (X = 2.42) โดยประเด็นปัจจัย ที่มีผลต่อจัดการขยะบรรจุภัณฑ์ที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ประเด็นไม่อำนวยความสะดวกในการ จัดการขยะบรรจุภัณฑ์ (X = 2.49) รองลงมา คือ ประเด็นพฤติกรรมในการจัดการขยะ (X = 2.46) และ 3) แนวทางในการจัดการขยะบรรจุภัณฑ์ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี โดยจะเริ่ม ดำเนินการจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและกระจายองค์ความรู้สู่ชุมชน มัสยิด โรงเรียน เพื่อให้เกิด จิตสำนึกต่อสิ่งแวดล้อมรอบตัว สามารถนำไปประยุกต์ใช้เป็นกลยุทธ์ในการส่งเสริมการจัดการขยะ บรรจุภัณฑ์ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี โดยพิจารณาจุดอ่อนที่ต้องได้รับการส่งเสริมมากที่สุด และ ให้ความสำคัญมากที่สุด คือ กลยุทธ์การสร้างความพร้อมของประชาชนด้านการมีส่วนร่วมใน การจัดการขยะในระดับครัวเรือนเพื่อให้ประชาชนทุกคนมีส่วนร่วม และร่วมทำกิจกรรมไปth
dc.description.abstractด้วยกัน และเกิดการแลกเปลี่ยนความคิดเพื่อการพัฒนาให้เกิดสิ่งที่นำไปสู่การจัดการขยะบรรจุ ภัณฑ์ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นth
dc.description.provenanceSubmitted by Chitjai Singhapong (chitjai.s@nida.ac.th) on 2022-05-26T06:37:06Z No. of bitstreams: 1 b201088.pdf: 2675934 bytes, checksum: 6449e19f023016aabc7f3dcdaf131b64 (MD5)th
dc.description.provenanceMade available in DSpace on 2022-05-26T06:37:06Z (GMT). No. of bitstreams: 1 b201088.pdf: 2675934 bytes, checksum: 6449e19f023016aabc7f3dcdaf131b64 (MD5) Previous issue date: 2017th
dc.format.extent192 แผ่นth
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันบัณพิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)th
dc.subjectการจัดการขยะ -- ไทย -- ปัตตานีth
dc.subject.otherขยะบรรจุภัณฑ์th
dc.subject.otherการจัดการขยะth
dc.titleการจัดการขยะบรรจุภัณฑ์ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานีth
dc.title.alternativePackaging Waste Management in Pattani Municipalityth
dc.typeTextth
mods.genreวิทยานิพนธ์th
mods.physicalLocationสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนาth


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record