การประยุกต์ใช้ RFID กับการควบคุมยานพาหนะเข้า-ออก กรณีศึกษาโรงเรียนจ่าอากาศ
Publisher
Issued Date
2009
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
9, 148 แผ่น : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
รุ่งกิจ กมลกลาง (2009). การประยุกต์ใช้ RFID กับการควบคุมยานพาหนะเข้า-ออก กรณีศึกษาโรงเรียนจ่าอากาศ. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/586.
Title
การประยุกต์ใช้ RFID กับการควบคุมยานพาหนะเข้า-ออก กรณีศึกษาโรงเรียนจ่าอากาศ
Alternative Title(s)
An adoptation of RFID in vehicle accessing control : a case of Air Technical Training School (ATTS)
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบต้นแบบควบคุมยานพาหนะเข้า-ออกโรงเรียน จ่าอากาศ โดยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี RFID และเทคโนโลยีสารสนเทศอื่นๆ ที่เหมาะสม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการรักษาความปลอดภัยด้านการควบคุมยานพาหนะที่ผ่านเข้า-ออกโรงเรียน จ่าอากาศ ระบบที่พัฒนาขึ้นสามารถตรวจสอบและติดตามข้อมูลของยานพาหนะที่กําลังผ่านเข้าออกได้ทันที ใช้เป็นข้อมูลสนับสนุนการรักษาความปลอดภัยด้านการควบคุมยานพาหนะให้กับ ผู้บังคับบัญชาตามความต้องการ การพัฒนาระบบต้นแบบนี้นําเทคโนโลยี RFID ใช้ในการตรวจจับ ยานพาหนะที่กําลังผ่านเข้า-ออก หน่วยงาน ด้วยโปรแกรมควบคุมการทํางานของระบบเชื่อมต่อกับ ระบบฐานข้อมูล MySQL บนเว็ปเซิร์ฟเวอร์ Apache ผ่านตัวกลางโปรแกรมภาษา PHP สามารถนํา ระบบต้นแบบไปพัฒนาขยายขอบเขตการทํางานหรือรวมกับระบบงานอื่นๆ เพื่อให้ระบบรักษา ความปลอดภัยมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ระบบต้นแบบที่พัฒนาขึ้นผ่านการทดสอบข้อบกพร่องใน ส่วนต่างๆ ได้เป็นอย่างดีมีประสิทธิภาพ มีระบบฐานข้อมูลที่ดีมีความรวดเร็วข้อมูลมีความถูกต้อง ระบบสามารถตอบสนองต่อความต้องการในการปฏิบัติงานอย่างทันท่วงทีมีระดับความพึงพอใจ ต่อการทํางานของระบบโดยรวมของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องอยู่ในระดับดีสามารถนําไปใช้เป็นระบบ ต้นแบบควบคุมยานพาหนะเข้า-ออกหน่วยงานของกองทัพอากาศได้เป็นอย่างดีอีกทั้งเป็นการ พัฒนาโรงเรียนจ่าอากาศ ซึ่งเป็นหน่วยงานของรัฐ ให้สอดคล้องตามนโยบายการก้าวเข้าสู่รัฐบาล อิเล็กทรอนิกส์
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2009