• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิติศาสตร์
  • GSL: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิติศาสตร์
  • GSL: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการสืบพยานบุคคลคดีอาญาในลักษณะการประชุมทางจอภาพ

by ธัญธิดา รัตนวิเชียร

Title:

ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการสืบพยานบุคคลคดีอาญาในลักษณะการประชุมทางจอภาพ

Other title(s):

Legal Problems Regarding Examining Witnesses in Criminal Cases by Video Conference

Author(s):

ธัญธิดา รัตนวิเชียร

Advisor:

วราภรณ์ วนาพิทักษ์

Degree name:

นิติศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

Master's

Degree department:

คณะนิติศาสตร์

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2017

Publisher:

สถาบันบัณพิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

วิทยานิพนธ์เรื่องการสืบพยานบุคคลคดีอาญาในลักษณะการประชุมทางจอภาพ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาวิเคราะหฺ์ความเหมาะสมและปัญหาการสืบพยานบุคคลคดีอาญาในลักษณะการประชุมทาง จอภาพ โดยศึกษาเปรียบเทียบกับประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศสิงคโปร์ซึ่งจะนําไปสู่บทสรุป และข้อเสนอแนะในการแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดข้ึน รวมถึงการปรับปรุง พัฒนา ให้การสืบพยานบุคคลคดีอาญาในลักษณะการประชุมทางจอภาพมีความเหมาะสมและมีความ น่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น
ผลจากการศึกษา วิเคราะห์ความเหมาะสมและปัญหาการสืบพยานบุคคลคดีอาญาในลักษณะ การประชุมทางจอภาพ พบว่า การสืบพยานบุคคลคดีอาญาในลักษณะการประชุมทางจอภาพยังคงมี ปัญหาเรื่องความน่าเชื่อถือของพยาน ดังนี้ตามความในมาตรา 230/1 แห่งประมวลกฎหมายวิธี พิจารณาความอาญาและข้อบังคับประธานศาลฎีกาว่าด้วยการสืบพยานในลักษณะการประชุมทาง จอภาพ พ.ศ.2556 ไม่มีการกําหนดประเภทของคดีไว้ซึ่งมีความแตกต่างจากหลักเกณฑ์และวิธีการ สืบพยานของต่างประเทศ และการกําหนดผู้เป็นสักขีพยานและสถานที่ในการสืบพยานบุคคล คดีอาญาในลักษณะการประชุมทางจอภาพ ในปัจจุบันนั้นส่งผลต่อการสืบพยานบุคคลคดีอาญาใน ลักษณะการประชุมทางจอภาพกล่าวคือมีความน่าเชื่อถือไม่เท่ากับการสืบพยานต่อหน้าจําเลยในห้อง พิจารณาคดี
ดังนั้น จึงควรเสนอให้มีการแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้อง โดยให้มีการกําหนดประเภทคดีที่ สามารถสืบพยานคดีอาญาในลักษณะการประชุมทางจอภาพ การกําหนดให้ผู้พิพากษาเป็นสักขีพยาน เพื่อควบคุมดูแลให้การพิจารณาเป็นไปตามระเบียบของประธานศาลฎีกา และกําหนดให้สามารถ สืบพยานคดีอาญาในลักษณะการประชุมทางจอภาพ ที่ห้องพิจารณาของศาลเท่าน้ัน เพื่อให้การสืบพยาน บุคคลคดีอาญามีความน่าเชื่อถือ และเป็นพยานที่มีน้ําหนักเพียงพอเทียบเท่ากับการสืบพยานในห้อง พิจารณาคดีของศาล

Subject(s):

การสืบสวนคดีอาญา

Keyword(s):

พยานหลักฐานคดีอาญา

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

185 แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5862
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • b201160.pdf ( 3,119.71 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSL: Theses [187]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×