การเสริมสร้างรูปแบบการรู้เท่าทันสื่อตามวิถีอโศก
Files
Publisher
Issued Date
2017
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
189 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
b201171
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ภพพรหมินทร์ วโรตม์วัฒนานนท์ (2017). การเสริมสร้างรูปแบบการรู้เท่าทันสื่อตามวิถีอโศก. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5870.
Title
การเสริมสร้างรูปแบบการรู้เท่าทันสื่อตามวิถีอโศก
Alternative Title(s)
The Development of Asoke’s Media Literacy Model
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหลักการของการรู้เท่าทันสื่อ กระบวนการ
เสริมสร้างการรู้เท่าทนั สื่อ และปัจจัยที่ส่งผลต่อการเสริมสร้างการรู้เท่าทันสื่อตามวิถีอโศก
โดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)รวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-DepthInterview)จากผู้ให้ข้อมูลสําคัญ (Key Informants) ทั้งหมดจำนวน 15 ท่าน แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่กลุ่มนักบวชชายกลุ่มนักบวชหญิงและกลุ่มฆราวาส/ญาติธรรมในพุทธสถานอโศก เครื่องมือที่ใช้ศึกษาเป็ นแบบสัมภาษณ์ และสร้างข้อสรุปด้วยการจําแนกประเภทข้อมูล (Typological Analysis) ตามชนิดของข้อมูล(Typologies) พร้อมทั้งตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า (Triangulation)
ผลการวจิยัพบว่า1) หลกัการของการรู้เท่าทันสื่อตามวิถีอโศก พบว่า มี7 มิติ/ด้าน ได้แก่ มิติ ด้านการรู้เหตุมิติด้านการรู้ผล มิติด้านการรู้ตน มิติด้านการรู้ประมาณ มิติด้านการรู้กาล มิติด้านการ รู้สังคม และมิติด้านการรู้บุคคล 2)กระบวนการเสริมสร้างการรู้เท่าทันสื่อตามวิถีอโศก พบว่ามี 5 ขั้นน ได้แก่ ขั้นการเข้าถึงสื่อ ขั้นการวิเคราะห์สื่อ ขั้นการตีความสื่อ ขั้นการประเมินค่าสื่อ และขั้นการ ใช้ประโยชน์จากสื่อ และ 3) ปัจจยัที่ส่งผลต่อการเสริมสร้างการรู้เท่าทันสื่อตามวิถีอโศก พบว่า มี 2 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยภายนอกเป็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับสื่อ พบว่ามี2 ด้าน ได้แก่ ปัญหาด้านสื่อ และ ปัญหาด้านการส่งเสริมลัทธิบริโภคนิยม ส่วนปัจจัยภายในเป็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับความคิด ความรู้ ความเชื่อ ทัศนคติ และพฤติกรรมของผู้รับสาร พบว่า มี3ด้าน ได้แก่ ปัญหาด้านการขาดองค์ความรู้ ในการพัฒนาทักษะการรู้เท่าทัน สื่อ ปัญหาด้านการขาดความตระหนักรู้ในตน และปัญหาด้านการ ขาดความตระหนักรู้ว่า สื่อคือปัญหา
โดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)รวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-DepthInterview)จากผู้ให้ข้อมูลสําคัญ (Key Informants) ทั้งหมดจำนวน 15 ท่าน แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่กลุ่มนักบวชชายกลุ่มนักบวชหญิงและกลุ่มฆราวาส/ญาติธรรมในพุทธสถานอโศก เครื่องมือที่ใช้ศึกษาเป็ นแบบสัมภาษณ์ และสร้างข้อสรุปด้วยการจําแนกประเภทข้อมูล (Typological Analysis) ตามชนิดของข้อมูล(Typologies) พร้อมทั้งตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า (Triangulation)
ผลการวจิยัพบว่า1) หลกัการของการรู้เท่าทันสื่อตามวิถีอโศก พบว่า มี7 มิติ/ด้าน ได้แก่ มิติ ด้านการรู้เหตุมิติด้านการรู้ผล มิติด้านการรู้ตน มิติด้านการรู้ประมาณ มิติด้านการรู้กาล มิติด้านการ รู้สังคม และมิติด้านการรู้บุคคล 2)กระบวนการเสริมสร้างการรู้เท่าทันสื่อตามวิถีอโศก พบว่ามี 5 ขั้นน ได้แก่ ขั้นการเข้าถึงสื่อ ขั้นการวิเคราะห์สื่อ ขั้นการตีความสื่อ ขั้นการประเมินค่าสื่อ และขั้นการ ใช้ประโยชน์จากสื่อ และ 3) ปัจจยัที่ส่งผลต่อการเสริมสร้างการรู้เท่าทันสื่อตามวิถีอโศก พบว่า มี 2 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยภายนอกเป็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับสื่อ พบว่ามี2 ด้าน ได้แก่ ปัญหาด้านสื่อ และ ปัญหาด้านการส่งเสริมลัทธิบริโภคนิยม ส่วนปัจจัยภายในเป็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับความคิด ความรู้ ความเชื่อ ทัศนคติ และพฤติกรรมของผู้รับสาร พบว่า มี3ด้าน ได้แก่ ปัญหาด้านการขาดองค์ความรู้ ในการพัฒนาทักษะการรู้เท่าทัน สื่อ ปัญหาด้านการขาดความตระหนักรู้ในตน และปัญหาด้านการ ขาดความตระหนักรู้ว่า สื่อคือปัญหา