บทสันนิษฐานความรับผิดทางอาญาของผู้แทนนิติบุคคล
Files
Publisher
Issued Date
2017
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
313 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
b201430
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ปวินี ไพรทอง (2017). บทสันนิษฐานความรับผิดทางอาญาของผู้แทนนิติบุคคล. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5889.
Title
บทสันนิษฐานความรับผิดทางอาญาของผู้แทนนิติบุคคล
Alternative Title(s)
Criminal Liability Presumption for Corporate
Representative
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
ศาลรัฐธรรมนูญได้วินิจฉัยว่าบทสันนิษฐานความรับผิดทางอาญาของผู้แทนนิติบุคคลเป็น
บทบัญญัติที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญเนื่องจากขัดต่อหลักการสันนิษฐานความบริสุทธิ์ของผู้ถูกกล่าวหาใน
คดีอาญา แต่เหตุใดในบางประเทศใช้บทสันนิษฐานความรับผิดทางอาญาเพื่อเป็นประโยชน์ในการสืบ
พยานหลักฐานและไม่ถือว่าขัดต่อหลักการดังกล่าว นอกจากนี้ในทางกฎหมายสารบัญญัติบทบัญญัติ
กฎหมายเดิมก่อนมีการยกเลิกบทสันนิษฐานความรับผิดทางอาญาของผู้แทนนิติบุคคลในประเทศไทย
มีความบกพร่องในการบัญญัติถ้อยคำที่เป็นไปตามโครงสร้างความรับผิดทางอาญาว่าด้วย “การ
กระทำ” อันควรเป็นเหตุผลประการเดียวของความไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญหาใช่ขัดการขัดต่อหลักการ
สันนิษฐานความบริสุทธิ์ของผู้ถูกกล่าวหาในคดีอาญาตามหลักสากลไม่ ดังนั้น ประเทศไทยจึงอาจมี
แนวทางการกำหนดบทสันนิษฐานความรับผิดทางอาญาของผู้แทนนิติบุคคลเพื่อประโยชน์ในกระบวน
พิจารณาได้หากบัญญัติถูกต้องตามหลักกฎหมายสารบัญญัติว่าด้วยโครงสร้างความรับผิดทางอาญา
และตามหลักเกณฑ์สากลของบทสันนิษฐานความรับผิดอาญา