การศึกษาผลของการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความผูกพัน แรงจูงใจ และความพึงพอใจของผู้เรียน กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
Files
Publisher
Issued Date
2017
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
172 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
b201431
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ธัญพรรษ แพนสกุล (2017). การศึกษาผลของการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความผูกพัน แรงจูงใจ และความพึงพอใจของผู้เรียน กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5890.
Title
การศึกษาผลของการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความผูกพัน แรงจูงใจ และความพึงพอใจของผู้เรียน กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
Alternative Title(s)
A study of effects of blended on learning achievement engagement, motivation and satisfaction of students : the case of Surathani Rajabhat University
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการจดัการเรียนการสอนแบบผสมผสานที่มีต่อ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความผูกพัน แรงจูงใจและความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนของผู้เรียน
โดยทำการศึกษากับนักศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีชั้นปีที่3 สาขา
คณิตศาสตร์ที่เรียนรายวิชาภาษาไทยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ภาคการศึกษาที่ 1/2558 โดยกลุ่มตัวอย่าง
ที่มีอยู่จริงตามธรรมชาติแบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 39 คน และกลุ่มทดลอง40คน โดยทั้งสองกลุ่มได้ทำ
การทดสอบก่อนและหลังการทดลองโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือทดลอง การวัด
ประสิทธิภาพสื่อ พบว่า ในส่วนของกระบวนการ มีค่าเท่ากับร้อยละ 82.45และในส่วนของผลลัพธ์
มีค่าเท่ากับ ร้อยละ 84.95 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด คือ 80/80 การวัดความเชื่อมั่นของแบบ
ประเมิน พบว่าค่าความเชื่อมั่นของแบบวัดความผูกพัน = 0.84 แรงจูงใจ = 0.84 และความพึงพอใจ
= 0.79 ค่าความยากง่ายของข้อสอบ เท่ากับ 0.55 นอกจากนั้นยังพบว่า ค่าอำนาจจำแนก
(Discrimination)ของข้อสอบโดยรวม เท่ากับ 0.38 และใช้สถิติMANOVA และ t-test ในการ
ทดสอบสมมติฐาน
ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่าผลของการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานที่มีต่อ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน (ˉx= 22.82)ความผูกพัน (xˉ= 4.12)แรงจูงใจ(xˉ= 3.05)และความพึงพอใจ (xˉ= 4.28) ซึ่งผู้เรียนโดยใช้การเรียนการสอนแบบผสมผสาน มีระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ความ ผูกพัน และความพึงพอใจของผู้เรียนสูงกว่าผู้เรียน โดยการเรียนการสอนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญ ที่ .05 และผู้ที่เรียนโดยใช้ฟังก์ชั่นสนับสนุนของระบบจัดการการเรียนรู้ไม่พบความแตกต่างกัน ระดับความผูกพัน แรงจูงใจ และความพึงพอใจของผู้เรียนอย่างมีนัยสำคัญที่ .05
ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่าผลของการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานที่มีต่อ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน (ˉx= 22.82)ความผูกพัน (xˉ= 4.12)แรงจูงใจ(xˉ= 3.05)และความพึงพอใจ (xˉ= 4.28) ซึ่งผู้เรียนโดยใช้การเรียนการสอนแบบผสมผสาน มีระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ความ ผูกพัน และความพึงพอใจของผู้เรียนสูงกว่าผู้เรียน โดยการเรียนการสอนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญ ที่ .05 และผู้ที่เรียนโดยใช้ฟังก์ชั่นสนับสนุนของระบบจัดการการเรียนรู้ไม่พบความแตกต่างกัน ระดับความผูกพัน แรงจูงใจ และความพึงพอใจของผู้เรียนอย่างมีนัยสำคัญที่ .05