• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะสถิติประยุกต์
  • GSAS: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะสถิติประยุกต์
  • GSAS: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

การพัฒนาแบบจำลองรูปแบบการส่งออกผลไม้จากประเทศไทยไปประเทศจีนภายใต้นโยบายหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง: กรณีศึกษาการส่งออกทุเรียน

by วุฒิภาค พูลบัว

Title:

การพัฒนาแบบจำลองรูปแบบการส่งออกผลไม้จากประเทศไทยไปประเทศจีนภายใต้นโยบายหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง: กรณีศึกษาการส่งออกทุเรียน

Other title(s):

Developing mode choice model for fruit export from Thailand to China under one belt one road initiative : a case study of durian export

Author(s):

วุฒิภาค พูลบัว

Advisor:

สราวุธ จันทร์สุวรรณ

Degree name:

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

Master's

Degree discipline:

การจัดการโลจิสติกส์

Degree department:

คณะสถิติประยุกต์

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2018

Publisher:

สถาบันบัณพิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

ยุทธศาสตร์หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง (One Belt One Road) เป็นยุทธศาสตร์สำคัญในการพัฒนา ความเชื่อมโยงโครงสร้างพื้นฐานการคมนาคมและระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทยและประเทศจีน งานวิจัยได้พัฒนาแบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อใช้ในการเลือกรูปแบบการส่งออกทุเรียนสดจากภาค ตะวันออกของประเทศไทยไปประเทศจีน โดยศึกษาเปรียบเทียบการส่งออกไปจุดหมายปลายทางสอง แห่งในประเทศจีน ได้แก่ 1) เมืองกว่างโจว โดยการขนส่งทางเรือ 2) ด่านโหย่วอี้กวานที่เมืองผิงเสียง โดย การขนส่งทางรถบรรทุก และการส่งออกทางรถไฟภายใต้ยุทธศาสตร์ดังกล่าวเพื่อเชื่อมโยงทั้งสอง ปลายทาง วิธีดำเนินการศึกษาแบ่งออกเป็น 1) ศึกษาปัจจัยเชิงเศรษฐศาสตร์ที่มีแนวโน้มต่อการพยากรณ์ ปริมาณการส่งออกในรูปแบบปัจจุบัน ด้วยการวิเคราะห์ถดถอยเชิงเส้นตรงแบบพหุโดยวิธีกำลังสองน้อย ที่สุดแบบธรรมดา (OLS) การศึกษาพบว่า มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศที่แท้จริงต่อหัว (GDP) ของประเทศจีนมีความสัมพันธ์กับปริมาณการส่งออก และ 2) ศึกษาปัจจัยเชิงดำเนินการที่มีผลต่อการ เลือกรูปแบบการส่งออก ซึ่งพบว่าคือ ต้นทุนโลจิสติกส์ระยะเวลาการขนส่ง และความน่าเชื่อถือของการ ให้บริการ แล้วใช้เทคนิค Stated Preference สร้างสถานการณ์สมมติที่ใช้ปัจจัยทั้งสามดังกล่าวส ารวจ กับบริษัทผู้ส่งออก เพื่อพัฒนาแบบจำลองการเลือกรูปแบบการส่งออกด้วยการวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติก ทวิ(Binary Logit) ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า ผู้ส่งออกมีแนวโน้มเปลี่ยนรูปแบบการขนส่งจากทางเรือ และรถบรรทุกมาเป็นการขนส่งทางรถไฟสูงขึ้นตามปริมาณการส่งออกที่เพิ่มขึ้น ผลการศึกษานี้สามารถ นำไปใช้ในการวางแผนปริมาณการจัดเตรียมและการขนส่งสินค้าเกษตรเพื่อการส่งออกผ่านระบบรางที่ จะเชื่อมโยงกับประเทศจีนต่อไป

Subject(s):

ทุเรียน -- การส่งออก

Keyword(s):

ผลิตผลทางการเกษตร -- การขนส่ง

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

219 แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ลิขสิทธิ์ของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Rights holder(s):

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

URI:

https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5925
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • b203100.pdf ( 5,709.31 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSAS: Theses [203]
Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Education Service Center | สำนักบริการการศึกษาและบรรณสาร
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Education Service Center | สำนักบริการการศึกษาและบรรณสาร
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×