• English
    • ไทย
  • ไทย 
    • English
    • ไทย
  • เข้าสู่ระบบ
ดูรายการข้อมูล 
  •   หน้าแรกของ คลังปัญญา
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร
  • GSSDE: Theses
  • ดูรายการข้อมูล
  •   หน้าแรกของ คลังปัญญา
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร
  • GSSDE: Theses
  • ดูรายการข้อมูล
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เรียกดูข้อมูล

ข้อมูลทั้งหมดของ คลังปัญญาชุมชน & กลุ่มข้อมูลวันที่เผยแพร่ผู้แต่งชื่อเรื่องหัวเรื่องวันที่เพิ่มข้อมูลประเภททรัพยากรกลุ่มข้อมูลนี้วันที่เผยแพร่ผู้แต่งชื่อเรื่องหัวเรื่องวันที่เพิ่มข้อมูลประเภททรัพยากร

บัญชีของฉัน

เข้าสู่ระบบ

การปรับตัวทางวัฒนธรรมของคนไทยเชื้อสายจีน: กรณีศึกษาคนไทยเชื้อสายจีน ย่านเยาวราช

by ภัทรภร สุวรรณจินดา

ชื่อเรื่อง:

การปรับตัวทางวัฒนธรรมของคนไทยเชื้อสายจีน: กรณีศึกษาคนไทยเชื้อสายจีน ย่านเยาวราช

ชื่อเรื่องอื่นๆ:

The cultural adaptation of Chinese Thai : a case study of Chinese Thai at Chinatown area

ผู้แต่ง:

ภัทรภร สุวรรณจินดา

ผู้ควบคุมงานวิจัย:

หลี่ เหรินเหลียง

ชื่อปริญญา:

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

ระดับปริญญา:

Master's

สาขาวิชา:

การบริหารการพัฒนาสังคม

คณะ/หน่วยงาน:

คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม

หน่วยงานที่ประสาทปริญญา:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

วันที่เผยแพร่:

2560

หน่วยงานที่เผยแพร่:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

บทคัดย่อ/เนื้อเรื่องย่อ:

การศึกษาเรื่องการปรับตัวทางวัฒนธรรมของคนไทยเชื้อสายจีน กรณีศึกษาคนไทยเชื้อสายจีน ย่านเยาวราช มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา 1) เพื่อศึกษาถึงวิถีชีวิตของคนไทยเชื้อสายจีนผ่านทางขนบธรรมเนียมประเพณี 2) เพื่อศึกษาถึงการปรับตัวทางวัฒนธรรมของคนไทยเชื้อสายจีน ในย่านเยาวราช 3) เพื่อศึกษาถึงวิธีการขัดเกลาทางสังคมในระดับครอบครัวของคนไทยเชื้อสายจีนในย่านเยาวราช ผู้วิจัยได้ใช้วิธีการศึกษาเชิงคุณภาพ ซึ่งได้ทําการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการปรับตัวทางวัฒนธรรมของคนไทยเชื้อสายจีน โดยศึกษาจากการทบทวนเอกสารที่มีความน่าเชื่อถือ ตํารา บทความทางวิชาการ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth Interview) ผู้ให้ข้อมูลสําคัญ จํานวน 15 คน ที่เป็นคนไทยเชื้อสายจีนที่อาศัยอยู่ในย่านเยาวราช ซึ่งเป็นกลุ่มผู้สูงอายุและผู้ที่อยู่วัยทํางาน จากการศึกษาพบว่า ในรอบ 1 ปี คนไทยเชื้อสายจีนมีเทศกาลที่สําคัญให้ปฏิบัติหลายเทศกาล แต่ด้วยสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปทําให้ให้ทัศนคติ ค่านิยม วิถีชีวิตของคนไทยเชื้อสายจีนถูกกลืนกลายไปกับสังคมและวัฒนธรรมแบบไทย ส่งผลให้เทศกาลบางอย่างได้เสื่อมสลายลงไปถึงแม้คนไทยเชื้อสายจีนจะยังคงยึดถือขนบธรรมเนียมประเพณีแบบจีนอยู่แต่ก็ได้มีการปรับตัวให้เข้ากับวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมตามแบบไทย ทั้งนี้คนไทยเชื้อสายจีนสามารถปรับตัวตามสภาพสังคมไทยได้เป็นอย่างดี เศรษฐกิจก็เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทําให้คนไทยเชื้อสายจีนต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบของการไหว้ ครอบครัวคนไทยเชื้อสายจีนจะใช้วิธีการขัดเกลาลูกหลานแบบทั้งทางตรงและทางอ้อม การขัดเกลาแบบทางตรงนั้นผู้ใหญ่จะใช้วิธีการเล่า อธิบาย สั่งสอนลูกหลานผ่านขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆ การขัดเกลาแบบทางอ้อมผู้ใหญ่จะทําให้ลูกหลานดูเป็นตัวอย่าง ช่วงเทศกาลจะเป็นช่วงที่คนไทยเชื้อสายจีนจะได้สั่งสอนลูกหลานผ่านการประกอบพิธีกรรม ทั้งนี้ก็เพื่อให้ลูกหลานได้ซึมซับถึงขนบธรรมเนียมประเพณีแบบจีน และได้ระลึกถึงพระคุณของบรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้ว

รายละเอียดเพิ่มเติม:

วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การบริหารการพัฒนาสังคม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2560

หัวเรื่องมาตรฐาน:

การปรับตัวทางสังคม

ประเภททรัพยากร:

วิทยานิพนธ์

ความยาว:

173 แผ่น

ชนิดของสื่อ:

Text

รูปแบบแฟ้มข้อมูล:

application/pdf

ภาษา:

tha

สิทธิในการใช้งาน:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5928
แสดงระเบียนรายการแบบเต็ม

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้ (CONTENT)

Thumbnail
ดู
  • b199276.pdf ( 4,508.63 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSSDE: Theses [555]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Education Service Center | สำนักบริการการศึกษาและบรรณสาร
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Education Service Center | สำนักบริการการศึกษาและบรรณสาร
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×