วาทกรรมการตีตราผู้อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวีเกย์ในสื่อออนไลน์ประเทศไทย ผลกระทบ และแนวทางการแก้ปัญหา
Files
Publisher
Issued Date
2021
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
146 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b213853
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ชัยวัฒน์ ม่วงทอง (2021). วาทกรรมการตีตราผู้อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวีเกย์ในสื่อออนไลน์ประเทศไทย ผลกระทบ และแนวทางการแก้ปัญหา. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5994.
Title
วาทกรรมการตีตราผู้อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวีเกย์ในสื่อออนไลน์ประเทศไทย ผลกระทบ และแนวทางการแก้ปัญหา
Alternative Title(s)
Discourses of HIV-Related stigma towards gay men on Thai social media : consequences
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพโดยใช้วิธีการศึกษาแบบผสมผสานจากแหล่งข้อมูลประเภทสื่อออนไลน์และประเภทบุคคลโดยมี 3 วัตถุประสงค์ คือ 1. เพื่อศึกษาวาทกรรมเกี่ยวกับการตีตราผู้อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวีในสื่อออนไลน์ของไทย 2. เพื่อศึกษาผลกระทบจากการตีตราผู้อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวีในสังคมไทย และ 3. เพื่อหาแนวทางในการช่วยลดการตีตราผู้อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวีในสังคมไทย ผู้วิจัยใช้แนวคิดการวิเคราะห์วาทกรรมเชิงวิพากษ์ตามกรอบแนวคิดของ Fairclough เพื่อศึกษาวาทกรรมเกี่ยวกับการตีตรา และใช้การวิเคราะห์แบบสรุปอุปนัยเพื่อศึกษาผลกระทบและแนวทางการแก้ปัญหาจากผลการสัมภาษณ์เชิงลึกและสนทนากลุ่ม
ผลการศึกษาพบว่า
1. วาทกรรมเกี่ยวกับการตีตราผู้อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวีในสังคมไทยมีประเด็นที่ถูกสะท้อนผ่านตัวบททั้งสิ้น 2 ประเด็นคือ ด่าทอโดยตรง และด่าทอโดยเชื่อมโยงเอชไอวีเข้ากับวัตถุ สถานที่ หรือลักษณะอาการ โดยผู้ผลิตตัวบทจะผลิตตัวบทจากทัศนคติและองค์ความรู้ส่วนบุคคล สอดคล้องกับผู้รับตัวบทที่จะบริโภคตัวบทจากทัศนคติและองค์ความรู้ส่วนบุคคลด้วยเช่นกัน ในด้านการแพร่กระจายของตัวบทพบว่าสื่อออนไลน์มีบทบาทเป็นอย่างยิ่ง รวมทั้งรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิตตัวบทและผู้รับตัวบทก็มีลักษณะที่ซับซ้อนด้วยเช่นกัน ทั้งนี้ยังพบอีกด้วยว่าผลกระทบจากระบบคุณค่าของสังคมไทยได้ส่งผลต่อการตีตราผู้อยู่ร่วมกับเชื้ออย่างมีนัยยะสำคัญ
2. ผลกระทบจากการตีตราพบว่าส่งผลใน 3 ด้านคือ ด้านการมีปฏิสัมพันธ์ต่อตัวผู้อยู่ร่วมกับเชื้อ ด้านการป้องกันตนเองจากเอชไอวี และด้านความรู้สึกเห็นใจผู้อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวี
3. แนวทางในการช่วยลดการตีตราพบทั้งสิ้น 5 แนวทางคือ ไม่ใช้คำที่อาจตีตราผู้อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวี ใช้การสื่อสารเชิงบวก ส่งเสริมความรู้สึกเห็นใจผู้อยู่ร่วมกับเชื้อ ให้ความสำคัญกับกลุ่มเป้าหมาย และเสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับเอชไอวี
The aim of this study was (i) to inspect the discourse of HIV-related stigma toward gay men on Thai social media, (ii) to identify the consequences and (iii) to find the strategies for solution of those issue. In this regard, Fairclough’s three-dimensional model was employed to interpret data for the first objective of this research while the analytic induction was used to analyze research findings for the second and third objectives. The study shows that, for the discourse analysis, Thai social media users tend to stigmatize PLHIV (People Living with HIV) through both direct and indirect criticisms while the social media have greatly raised those stigmatizations. Furthermore, the research also found that there was a complex connection between text producers and text consumers. Also, the structure of Thai social values affects self-prevention and viewpoints toward HIV and PLHIV. The consequences were found in three fields (i) the interaction towards PLHIV, (ii) the self-prevention, and (iii) the decline of empathy towards PLHIV. As for the solution, this study suggests five ways (i) stop using stigmatized words, (ii) communicating positively, (iii) raising an environmental empathy, (iv) using an audience-centric approach to communications and (v) improving HIV knowledge for Thai citizens.
The aim of this study was (i) to inspect the discourse of HIV-related stigma toward gay men on Thai social media, (ii) to identify the consequences and (iii) to find the strategies for solution of those issue. In this regard, Fairclough’s three-dimensional model was employed to interpret data for the first objective of this research while the analytic induction was used to analyze research findings for the second and third objectives. The study shows that, for the discourse analysis, Thai social media users tend to stigmatize PLHIV (People Living with HIV) through both direct and indirect criticisms while the social media have greatly raised those stigmatizations. Furthermore, the research also found that there was a complex connection between text producers and text consumers. Also, the structure of Thai social values affects self-prevention and viewpoints toward HIV and PLHIV. The consequences were found in three fields (i) the interaction towards PLHIV, (ii) the self-prevention, and (iii) the decline of empathy towards PLHIV. As for the solution, this study suggests five ways (i) stop using stigmatized words, (ii) communicating positively, (iii) raising an environmental empathy, (iv) using an audience-centric approach to communications and (v) improving HIV knowledge for Thai citizens.
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2564