• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • หน่วยงาน
  • สำนักบรรณสารการพัฒนา
  • In Processing
  • Dissertations, Theses, Term Papers
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • หน่วยงาน
  • สำนักบรรณสารการพัฒนา
  • In Processing
  • Dissertations, Theses, Term Papers
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

Relationship between Health Behavior and Metabolic Syndrome Progression: A parallel latent growth curve modeling approach

ความสัมพันธ์ระหว่างการดำเนินของพฤติกรรมสุขภาพและการดำเนินของภาวะเมแทบอลิกซินโดรม:ตัวแบบโค้งพัฒนาการตัวแปรแฝงขนาน

by Somkiat Tonphu; สมเกียรติ ตนภู; Arnond Sakworawich; อานนท์ ศักดิ์วรวิชญ์; National Institute of Development Administration. School of Applied Statistics

Title:

Relationship between Health Behavior and Metabolic Syndrome Progression: A parallel latent growth curve modeling approach
ความสัมพันธ์ระหว่างการดำเนินของพฤติกรรมสุขภาพและการดำเนินของภาวะเมแทบอลิกซินโดรม:ตัวแบบโค้งพัฒนาการตัวแปรแฝงขนาน

Contributor(s):

National Institute of Development Administration. School of Applied Statistics

Advisor:

Arnond Sakworawich
อานนท์ ศักดิ์วรวิชญ์

Issued date:

3/6/2022

Publisher:

National Institute of Development Administration

Abstract:

OBJECTIVES: To develop a measurement model to assess the relationship between metabolic syndrome (MetS) progression and health behavior changes. METHODS: Medical records of checkup patients of a private hospital from 2006-2017. Data on exercise (EXE), smoking (SMK), and failure to control weight (FCW) were included as health behaviors. FCW was derived from waist circumference (WC) and body mass index (BMI).  Blood pressure, high and low density lipoproteins (HDL, LDL), triglycerides (TG), and fasting blood sugar (FBS) were used for MetS diagnosis according to the National Cholesterol Education Program Adult Treatment Panel III. A parallel latent growth curve modeling was applied.  Analysis of Covariance was used to determine the influence of age and sex as co-variates. RESULTS: Among 1,296 patients, 61 (4.7%), 64 (4.9%), 70 (5.4%), 73 (5.6%) and 87 (6.7%) had MetS each year.  FCW had strong effects on the intercept (0.69) and slope (0.57) of MetS progression, while EXE had small negative effects on the intercept (-0.05) and slope (-0.07) and SMK had small and positive effects on the intercept (0.01) and slope (0.03). Age and sex contributed to MetS indirectly through FCW. Decomposition of effects revealed a high relationship between FCW and the intercept (0.69) and slope (0.57) of MetS. SMK had indirect effect on TG (0.66) and HDL (-0.61).  CONCLUSION: Failure to control weight, exercise, and smoking intercepts and slopes affect progression to MetS, sequentially. As FCW is associated with increased risks for several noncommunicable diseases (NCDs), healthy eating should be recommended to avoid MetS and NCDs. In order to control weight efficiency.
วัตถุประสงค์: เพื่อพัฒนาตัวแบบสำหรับประเมินความสัมพันธ์ระหว่างการดำเนินของภาวะเมแทบอลิกซินโดรม และการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมสุขภาพ วิธีวิจัย: ข้อมูลจากการตรวจสุขภาพประจำปีของผู้ที่ตรวจสุขภาพประจำปี ในโรงพยาบาลเอกชนขนาดใหญ่ ตั้งแต่ปี 2549 - 2560 โดยประกอบด้วยข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ ได้แก่ การออกกำลังกาย การสูบบุหรี่ และการไม่สามารถควบคุมน้ำหนักได้ซึ่งได้ โดยพิจารณาจาก เส้นรอบเอวและดัชนีมวลกาย ข้อมูลจากผลทางห้องปฎิบัติการ ได้แก่ ความดันตัวบน ความดันตัวล่าง คอเรสเตอรอลชนิดดี คอเรสเตอรอลชนิดไม่ดี ไตรกลีเซอไรด์ และระดับน้ำตาลในเลือดหลังอดอาหาร นำมาประเมินภาวะเมแทบอลิกซินโดรมตามเกณฑ์ NCEP ATP III และเทคนิคตัวแบบโครงสร้างพัฒนาการที่มีตัวแปรแฝงขนาน และ การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม ของเพศ และอายุ ผลการวิจัย: ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 1,296 คน ทำการประเมินภาวะเมแทบอลิกซินโดรมตามเกณฑ์ NCEP ATP III พบว่ามีผู้ป่วย ปีที่ 1 - 5 ตามลำดับดังนี้  61 (4.7%), 64 (4.9%), 70 (5.4%), 73 (5.6%) และ 87 (6.7%) และพบว่าการไม่สามารถควบคุมน้ำหนักได้ ส่งผลอย่างมากกับ ค่าเริ่มต้น (Intercept) 0.69 และ พัฒนาการ (slope) 0.57 ของการดำเนินของภาวะเมแทบอลิกซินโดรม การออกกำลังกายส่งผลทางด้านลบต่อการดำเนินของภาวะเมแทบอลิกซินโดรม ค่าเริ่มต้น (Intercept)  -0.05 และพัฒนาการ (Slope) -0.07 การสูบบุหรี่ส่งผลทางด้านบวกการดำเนินของภาวะเมแทบอลิกซินโดรม โดยมีค่าเริ่มต้น (Intercept) 0.01 และพัฒนาการ (Slope) 0.03 อายุและเพศส่งผลทางอ้อมต่อการไม่สามารถควบคุมน้ำหนักได้ แยกการพิจารณาองค์ประกอบพบความสัมพันธ์ระหว่าง การไม่สามารถควบคุมน้ำหนักได้ส่งผลต่อภาวะเมแทบอลิกซินโดรมอย่างมาก โดยมีค่าค่าเริ่มต้นในการวัดครั้งแรก (Intercept) 0.69 และ พัฒนาการ (Slope) 0.57 การสูบบุหรี่ส่งผลทางอ้อมต่อไตรกลีเซอไรด์ (0.66) และคอเรสเตอรอลชนิดดี (-0.61)  สรุป: พฤติกรรมที่ส่งผลต่อภาวะเมแทบอลิกซินโดรม เรียงตามลำดับดังนี้ การไม่สามารถควบคุมน้ำหนักได้ การออกกำลังกาย และ การสูบบุหรี่ และการไม่สามารถควบคุมน้ำหนักได้เพิ่มความเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง สำหรับการป้องกันภาวะเมแทบอลิกซินโดรม และโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เริ่มจากการรับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ เพื่อให้สามารถควบคุมน้ำหนักได้อย่างมีประสิทธิภาพ

Description:

Master of Science (Applied Statistics) (M.S.(Applied Statistics))
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สถิติประยุกต์) (วท.ม.(สถิติประยุกต์))

Keyword(s):

เมตาบอลิกซินโดรม
การควบคุมน้ำหนัก
การสูบบุหรี่
การออกกำลังกาย
โครงสร้างพัฒนาการที่มีตัวแปรแฝงขนาน
Metabolic syndrome
latent growth curve
weight control
smoking
exercise

Type:

Thesis
วิทยานิพนธ์

Language:

th

Rights:

National Institute of Development Administration

URI:

https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6064
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • 5920423026.pdf ( 2,535.55 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • Dissertations, Theses, Term Papers [192]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×