• English
    • ไทย
  • ไทย 
    • English
    • ไทย
  • เข้าสู่ระบบ
ดูรายการข้อมูล 
  •   หน้าแรกของ คลังปัญญา
  • หน่วยงาน
  • สำนักบรรณสารการพัฒนา
  • In Processing
  • Dissertations, Theses, Term Papers
  • ดูรายการข้อมูล
  •   หน้าแรกของ คลังปัญญา
  • หน่วยงาน
  • สำนักบรรณสารการพัฒนา
  • In Processing
  • Dissertations, Theses, Term Papers
  • ดูรายการข้อมูล
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เรียกดูข้อมูล

ข้อมูลทั้งหมดของ คลังปัญญาชุมชน & กลุ่มข้อมูลวันที่เผยแพร่ผู้แต่งชื่อเรื่องหัวเรื่องวันที่เพิ่มข้อมูลประเภททรัพยากรกลุ่มข้อมูลนี้วันที่เผยแพร่ผู้แต่งชื่อเรื่องหัวเรื่องวันที่เพิ่มข้อมูลประเภททรัพยากร

บัญชีของฉัน

เข้าสู่ระบบ

A Study for Finding Virtual Reality Gaming Motivations of Generation Z in Bangkok by Developing Virtual Reality System

การศึกษาเพื่อหาเเรงจูงใจในการเล่นเกมความเป็นจริงเสมือนของเจเนอเรชันแซดในกรุงเทพมหานครโดยการพัฒนาระบบความเป็นจริงเสมือน

by KAWIN MEKSUMPHUN; กวิน เมฆสัมพันธ์; Chutisant Kerdvibulvech; ชุติสันต์ เกิดวิบูลย์เวช; National Institute of Development Administration. The Graduate School of Communication Arts and Management Innovation

ชื่อเรื่อง:

A Study for Finding Virtual Reality Gaming Motivations of Generation Z in Bangkok by Developing Virtual Reality System
การศึกษาเพื่อหาเเรงจูงใจในการเล่นเกมความเป็นจริงเสมือนของเจเนอเรชันแซดในกรุงเทพมหานครโดยการพัฒนาระบบความเป็นจริงเสมือน

ผู้ร่วมงาน:

National Institute of Development Administration. The Graduate School of Communication Arts and Management Innovation

ผู้ควบคุมงานวิจัย:

Chutisant Kerdvibulvech
ชุติสันต์ เกิดวิบูลย์เวช

วันที่เผยแพร่:

NaN/2022

หน่วยงานที่เผยแพร่:

National Institute of Development Administration

บทคัดย่อ/เนื้อเรื่องย่อ:

Many organizations are adopting augmented reality technology to increase brand appeal and engagement. Whether it's cars, homes, consumer products, or even online games, and as a result of its enormous popularity, Metaverse has emerged as a new branch of computer science that is becoming very popular, particularly in virtual reality games. This thesis aims to discover the need and motivation for virtual games by The target audience is Bangkok's population of 40, aged 18–24 years. In 2019, we developed a free model-based virtual game on Unity for testing and collecting data. The results showed that the highest average needs and motivations of Generation Z were convenience (4.25%), product appearance (4.20%), game effects (4.18%), images and graphics (4.05%), sound effects (3.93%), and game challenges (3.93%). However, the slightest impact showed that Generation Z's desire and motivation were brand-related (3.93%).
มีหลายองค์กรที่นำเทคโนโลยีความจริงเสมือนมาใช้เพื่อเพิ่มความน่าสนใจและการมีส่วนร่วมของแบรนด์ ไม่ว่าจะเป็นรถยนต์ ที่อยู่อาศัย สินค้าอุปโภคบริโภค หรือแม้แต่เกมออนไลน์ และด้วยความนิยมอย่างมาก Metaverse จึงกลายเป็นสาขาใหม่ที่เกิดขึ้นในวิทยาการคอมพิวเตอร์ที่กำลังได้รับความนิยมเป็นอย่างมากโดยเฉพาะเกมเสมือนจริงวิทยานิพนธ์นี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อค้นหาแรงจูงใจสำหรับเกมเสมือนจริงโดยขอบเขตของกลุ่มเป้าหมายคือประชากรในกรุงเทพมหานคร จำนวน 40 คน อายุระหว่าง 18-24 ปี ในปี 2562 เราพัฒนาเกมเสมือนจริงจากโมเดลและชุดคำสั่งฟรีบน Unity ขึ้นมาเพื่อใช้สำหรับการทดสอบและรวบรวมข้อมูล โดยผลการวิจัยพบว่าความต้องการเฉลี่ยสูงสุดและแรงจูงใจของคนเจเนอเรชันแซด คือ ความสะดวก (4.25%), รูปลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ (4.20%), เอฟเฟกต์เกม (4.18%), รูปภาพและกราฟิก (4.05%), เอฟเฟกต์เสียง (3.93%) ) และความท้าทายของเกม (3.93%) อย่างไรก็ตาม ผลกระทบเล็กน้อยที่สุดแสดงให้เห็นว่าแรงจูงใจของเจเนอเรชันแซดคือการสร้างแบรนด์ (3.93%)

รายละเอียดเพิ่มเติม:

Master of Arts (Communication and Innovation) (M.A.(Communication and Innovation))
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม) (ศศ.ม.(นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม))

คำสำคัญ:

เทคโนโลยีความจริงเสมือน / แรงจูงใจ / เจเนอเรชั่น ซี
Virtual reality / Motivation / Generation z.

ชนิดของสื่อ:

Thesis
วิทยานิพนธ์

ภาษา:

th

สิทธิในการใช้งาน:

National Institute of Development Administration

URI:

https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6085
แสดงระเบียนรายการแบบเต็ม

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้ (CONTENT)

Thumbnail
ดู
  • 6311821001.pdf ( 2,984.51 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • Dissertations, Theses, Term Papers [193]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×