• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • หน่วยงาน
  • สำนักบรรณสารการพัฒนา
  • In Processing
  • Dissertations, Theses, Term Papers
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • หน่วยงาน
  • สำนักบรรณสารการพัฒนา
  • In Processing
  • Dissertations, Theses, Term Papers
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

Legal Problems Regarding to the Personal Data Protection on Social Network Platforms : The Study on Data Controllers and Data Processors under the Personal Data Protection Act B.E. 2562 (2019)

ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลในเครือข่ายสังคมออนไลน์: ศึกษากรณีผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลและผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562

by Putthama Munchunakorn; ปัทมา มัญชุนากร; Auntika Na Pibul; อัญธิกา ณ พิบูลย์; National Institute of Development Administration. The Graduate School of Law

Title:

Legal Problems Regarding to the Personal Data Protection on Social Network Platforms : The Study on Data Controllers and Data Processors under the Personal Data Protection Act B.E. 2562 (2019)
ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลในเครือข่ายสังคมออนไลน์: ศึกษากรณีผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลและผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562

Contributor(s):

National Institute of Development Administration. The Graduate School of Law

Advisor:

Auntika Na Pibul
อัญธิกา ณ พิบูลย์

Issued date:

3/6/2022

Publisher:

National Institute of Development Administration

Abstract:

The advanced in technology development, especially on the social network platforms, has caused the obstacles on applying the data protection law. According to the research, three major problems were found: (1) the problem in determining the status of persons related to the collection, use or disclosure of personal data; (2) the absence on the provision determining responsibility and duty of muti controllers and processors; and (3) the issues regarding the allocation of duties and responsibilities between social network service providers and users. Therefore, the necessity of establishing guidelines for interpreting the definitions of data controller and data processor, the addition to provisions on responsibility of multi actors based on the data protection principles, and the data handling practices according to the end-to-end accountability principle through the life cycle of personal data are essential keys to ensure the effective and complete protection.
การพัฒนาทางเทคโนโลยีและสังคมของเครือข่ายสังคมออนไลน์ ทำให้การนำแนวคิดผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลและผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลเมื่อนำมาใช้ในทางปฏิบัติมีความยากมากยิ่งขึ้น ประกอบกับความซับซ้อนของการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลนั้นส่งผลให้ไม่อาจทราบจุดตัดที่แยกระหว่างผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลและผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลได้อย่างชัดเจน โดยเฉพาะกรณีที่มีบุคคลจำนวนมากเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลซึ่งแต่ละฝ่ายมีบทบาทที่แตกต่างกันในการบรรลุเป้าหมายของการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล จากการศึกษาพบปัญหาสำคัญ 3 ประการ ได้แก่ (1) ปัญหาเรื่องความสับสนในการกำหนดฐานะของบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล จึงมีความจำเป็นต้องกำหนดแนวทางปฏิบัติในการตีความนิยามความหมายของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลและผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล ซึ่งมีแนวโน้มว่าการตีความโดยขยายความส่งผลให้ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลขยายความรวมถึงผู้ซึ่งมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเกี่ยวกับการเก็บรวบรวม ใช้ และเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลดังเช่นตามแนวคิดของสหภาพยุโรป (2) ปัญหาเรื่องความไม่ครอบคลุมของบทบัญญัติกรณีที่มีบุคคลหลายรายในการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล จึงมีความจำเป็นต้องแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติกรณีที่มีบุคคลหลายรายโดยอาศัยหลักความชอบด้วยกฎหมาย เป็นธรรม และโปร่งใสและหลักความซื่อสัตย์สุจริตและการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคลผ่านข้อตกลงที่เป็นลายลักษณ์อักษร และ (3) ปัญหาเกี่ยวกับการจัดสรรหน้าที่และความรับผิดชอบระหว่างผู้ให้บริการและผู้ใช้งานเครือข่ายสังคมออนไลน์ ซึ่งทุกฝ่ายควรปฏิบัติตามหลักความรับผิดชอบแบบครบทุกฝ่าย 

Description:

Master of Laws (LL.M.)
นิติศาสตรมหาบัณฑิต (น.ม.)

Keyword(s):

เครือข่ายสังคมออนไลน์
การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล
ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล
social network platforms
personal data protection
data controller
data processor

Type:

Thesis
วิทยานิพนธ์

Language:

th

Rights:

National Institute of Development Administration

URI:

https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6092
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • 6021911010.pdf ( 3,223.56 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • Dissertations, Theses, Term Papers [192]

Related items

Showing items related by title, author, creator and subject.

  • Thumbnail

    ปัญหาการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ศึกษากรณี การจัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคลในหน่วยงานเอกชน 

    จันทร์ทิพย์ แสงแปง; วริยา ล้ำเลิศ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)

    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งเน้นศึกษาปัญหาการจัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคลในหน่วยงานเอกชน ตาม ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. .... ศึกษาแนวทางการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลใน ประเทศต่าง ๆ ที่มีการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลจากหน่วยงานเอกชนที่ชัดเจน เช่น ประเทศแคนาดา ประเทศสวีเดน และประเทศญี่ปุ่น เป็นต้น และศึกษาแนวทางการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลใน มาตรฐานสากล รวมถึงวิเคราะห์ปัญหาและแนวทางในการจัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคลในหน่วยงาน เอกชน
  • Thumbnail

    มาตรการทางกฎหมายในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของเด็ก บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 

    พนิดา พูลสวัสดิ์; วราภรณ์ วนาพิทักษ์ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2013)

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ศึกษาปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิเด็กกรณี ข้อมูลส่วนบุคคลของเด็กบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตตามพระราชบัญญัติคุ้มครองสิทธิเด็ก พ.ศ. 2546 และศึกษาแนวทางการให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของเด็กบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตของ ประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศแคนาดารวมทั้งวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคทางกฎหมายและ แนวทางเกี่ยวกับมาตรการในการคุ้มครองมูลส่วนบุคคลของเด็กบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต พระราชบัญญัติคุ้มครองสิทธิเด็ก พ.ศ. 2546 นี้มีบทบัญญัติที่เกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิ เด็ก ในด้านต่างๆ สอดคล้องรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ...
  • Thumbnail

    การใช้ระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคลเพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการบริหารทรัพยากรบุคคลในองค์กร : กรณีศึกษาบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) 

    ปิยะฉัตร ฤกษ์เย็น; บุญอนันต์ พินัยทรัพย์, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2004)

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×