ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรความขัดแย้งระหว่างงานและครอบครัว และวัฒนธรรมองค์กรด้านงานและครอบครัว ของพนักงานสถาบันการเงินเฉพาะกิจ
Files
Publisher
Issued Date
2015
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
158 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b191175
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ธนิษฐา รัตนะ (2015). ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรความขัดแย้งระหว่างงานและครอบครัว และวัฒนธรรมองค์กรด้านงานและครอบครัว ของพนักงานสถาบันการเงินเฉพาะกิจ. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6114.
Title
ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรความขัดแย้งระหว่างงานและครอบครัว และวัฒนธรรมองค์กรด้านงานและครอบครัว ของพนักงานสถาบันการเงินเฉพาะกิจ
Alternative Title(s)
The relationship between organizational citizational citizenship behavior, work-family conflict and work-family culture in specific financial institutions employees
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดี
ขององค์กรกับความขัดแย้งระหว่างงานและครอบครัว และวัฒนธรรมองค์กรด้านงานและครอบครัว
ตลอดจนอิทธิพลของความขัดแย้งระหว่างงานและครอบครัว และวัฒนธรรมองค์กรด้านงานและ
ครอบครัว ที่มีต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร กลุ่มตัวอย่างในการศึกษา คือพนักงานของ
สถาบันการเงินเฉพาะกิจสำนักงานใหญ่ 5 แห่ง จำนวน 401 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ
แบบสอบถาม มีทั้งหมด 4 ส่วน ได้แก่ (1) แบบสอบถามพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร
ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบ คือพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรที่มุ่งสู่บุคคล และพฤติกรรม
การเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรที่มุ่งสู่องค์กร (2) แบบสอบถามความขัดแย้งระหว่างงานแ และครอบครัว
(3) แบบสอบถามวัฒนธรรมองค์กรต้านงานและครอบครัว ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ คือความ
ต้องการเวลาของอค์กร ผลกระทบต่องาน และการสนับสนุนจากหัวหน้า (4) แบบสอบถามข้อมูล
ทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวนจำแนกทางเดียว
(One-Way ANOVA)การทดสอบค่าสหสัมพันธ์ (Correlation) การวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่าย
(Simple Regression) และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression)
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558