การศึกษาเปรียบเทียบความมุ่งมั่นและพลังขับเคลื่อนองค์การและวัฒนธรรมองค์การระหว่างบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ กับบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ที่ติดอันดับ SET 100 Index
Files
Publisher
Issued Date
2015
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
103 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b191179
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ณภัทธิรา มุ่งธนวรกุล (2015). การศึกษาเปรียบเทียบความมุ่งมั่นและพลังขับเคลื่อนองค์การและวัฒนธรรมองค์การระหว่างบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ กับบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ที่ติดอันดับ SET 100 Index. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6116.
Title
การศึกษาเปรียบเทียบความมุ่งมั่นและพลังขับเคลื่อนองค์การและวัฒนธรรมองค์การระหว่างบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ กับบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ที่ติดอันดับ SET 100 Index
Alternative Title(s)
A comparative study work passion and organization culture : between companies listed on the Stock Exchange of Thailand and companies listed on the SET 100 Index
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาความความมุ่งมั่นและพลังขับเคลื่อน
องค์การ และวัฒนธรรมองค์การของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 2) เพื่อตึกษา
เปรียบเทียบระดับความมุ่งมั่นและพลังขับเคลื่อนองค์การ กับวัฒนธรรมองค์การระหว่างจด
ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ทั่วไป กับบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯที่ติดอันดับ SET
100 Index และ 3) เพื่อศึกษาความสามารถในการทำนายของวัฒนธรรมองค์การที่มีต่อความ
มุ่งมั่นและพลังขับเคลื่อนองค์การ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ พนักงานที่ทำงานอยู่ในบริษัทจดทะเบียน
ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET) จำนวน 414 คน แบ่งเป็นพนักงานที่ทำงานใน
บริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ จำนวน 197 คน และพนักงานที่ทำงานในบริษัทที่จด
ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ที่ติดอันดับ SET 100 Index (ประกาศ ณ วันที่ 16 มิถุนายน
2557) จำนวน 217 คนการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ
แบบสอบถาม ได้แก่ แบบสอบถามความมุ่งมั่นและพลังขับเคลื่อนองค์การ และ แบบสอบถาม
วัฒนธรรมองค์การ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS สถิติที่ใช้คือ ด่าความถี่
(Frequency) ค่ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard
Deviation) การวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างกลุ่ม T-test และสถิติถดถอยพหุคูณ (Muliple
Regression Analysis) โดยการคัดเลือกปัจจัยเข้าสู่สมการแบบขั้นตอน (Stepwise)
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558