ปัจจัยที่มีผลต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนักของประชาชนในกรุงเทพมหานคร
Files
Publisher
Issued Date
2015
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
99 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b190983
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ชวัล วินิจชัยนันท์ (2015). ปัจจัยที่มีผลต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนักของประชาชนในกรุงเทพมหานคร. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6118.
Title
ปัจจัยที่มีผลต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนักของประชาชนในกรุงเทพมหานคร
Alternative Title(s)
Factor affecting weight control dietary supplements consumption of people in Bangkok
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการคือ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริม
อาหารเพื่อควบคุมน้ำหนักของประชาชนในกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการ
บริ โภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนักของประชาชนในกรุงเทพมหานคร โดยเป็นการ
ศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ (Quantiative Research) ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวม
ข้อมูล ประชากรเป้าหมาย คือ ประชาชนที่มีอายุระหว่าง 20 - 59 ปี ที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร
สุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ 2 ขั้น (Two - Stage Stratified Random Sampling) ใช้ขนาดตัวอย่าง 390
คน และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ (Frequency)ร้อยละ
(Percentage) ค่าเฉลี่ย (X)ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และการวิเคราะห์การ
ถคถอยโลจิสติก (Logistic Regression)
จากการศึกษาผู้บริโภคซึ่งแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่บริโภคอยู่ในปัจจุบัน กลุ่มที่เคย
บริ โภคแต่ปัจจุบันเลิกบริโภคแล้ว และกลุ่มที่ไม่เคยบริ โภค พบว่า กลุ่มที่บริโภคอยู่ในปัจจุบัน มี
ร้อยละ 27.7 กลุ่มที่เคยบริโภคแต่ปัจจุบันเลิกบริโภคแล้ว มีร้อยละ 18.2 และกลุ่มที่ไม่เคยบริโภคเลย
มีร้อยละ 54.1 โดยผู้ที่บริโภคอยู่ในปัจจุบันส่วนใหญ่มีเหตุผลที่บริโภคคือ เชื่อในสรรพคุณ ผู้ที่เคย
บริโภคแต่ปัจจุบันเลิกบริโภคแล้วส่วนใหญ่มีเหตุผลที่เลิกคือ บริโภคแล้วไม่เห็นผลที่ชัดเจน และผู้
ที่ไม่เคยบริโภคเลย ส่วนใหญ่มีเหตุผลคือ ไม่มีความจำเป็นต้องใช้
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (สถิติประยุกต์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558