• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะสถิติประยุกต์
  • GSAS: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะสถิติประยุกต์
  • GSAS: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

ปัจจัยที่มีผลต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนักของประชาชนในกรุงเทพมหานคร

by ชวัล วินิจชัยนันท์

Title:

ปัจจัยที่มีผลต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนักของประชาชนในกรุงเทพมหานคร

Other title(s):

Factor affecting weight control dietary supplements consumption of people in Bangkok

Author(s):

ชวัล วินิจชัยนันท์

Advisor:

ปรีชา วิจิตรธรรมรส

Degree name:

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

Master's

Degree discipline:

สถิติประยุกต์

Degree department:

คณะสถิติประยุกต์

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2015

Digital Object Identifier (DOI):

10.14457/NIDA.the.2015.106

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการคือ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริม อาหารเพื่อควบคุมน้ำหนักของประชาชนในกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการ บริ โภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนักของประชาชนในกรุงเทพมหานคร โดยเป็นการ ศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ (Quantiative Research) ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวม ข้อมูล ประชากรเป้าหมาย คือ ประชาชนที่มีอายุระหว่าง 20 - 59 ปี ที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร สุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ 2 ขั้น (Two - Stage Stratified Random Sampling) ใช้ขนาดตัวอย่าง 390 คน และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ (Frequency)ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (X)ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และการวิเคราะห์การ ถคถอยโลจิสติก (Logistic Regression) จากการศึกษาผู้บริโภคซึ่งแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่บริโภคอยู่ในปัจจุบัน กลุ่มที่เคย บริ โภคแต่ปัจจุบันเลิกบริโภคแล้ว และกลุ่มที่ไม่เคยบริ โภค พบว่า กลุ่มที่บริโภคอยู่ในปัจจุบัน มี ร้อยละ 27.7 กลุ่มที่เคยบริโภคแต่ปัจจุบันเลิกบริโภคแล้ว มีร้อยละ 18.2 และกลุ่มที่ไม่เคยบริโภคเลย มีร้อยละ 54.1 โดยผู้ที่บริโภคอยู่ในปัจจุบันส่วนใหญ่มีเหตุผลที่บริโภคคือ เชื่อในสรรพคุณ ผู้ที่เคย บริโภคแต่ปัจจุบันเลิกบริโภคแล้วส่วนใหญ่มีเหตุผลที่เลิกคือ บริโภคแล้วไม่เห็นผลที่ชัดเจน และผู้ ที่ไม่เคยบริโภคเลย ส่วนใหญ่มีเหตุผลคือ ไม่มีความจำเป็นต้องใช้

Description:

วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (สถิติประยุกต์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558

Subject(s):

อาหารเสริม

Keyword(s):

ควบคุมน้ำหนัก

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

99 แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6118
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • b190983.pdf ( 1,174.45 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSAS: Theses [224]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×